Page 49 - longan
P. 49

3-11




                                  2.4.4)   หน่วยที่ดินที่มีคันนาในเขตชลประทาน (b,I) ประกอบด้วย หน่วย

                  ที่ดิน 40b,I 40b,BI 40b,BI/40b,BI และ 40BI/40b,BI
                              2.5)  หน่วยที่ดินที่เป็นดินทราย มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูก
                  คลื่นลอนลาด เป็นดินลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินทรายหยาบปนร่วน ดินทรายปนร่วน ดินทรายปน

                  ร่วน หรือดินร่วนปนทราย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0–7.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินทรายหยาบปน
                  ร่วน ดินทรายปนร่วน ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวด
                  มาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-8.0 มีการระบายน้ ามากเกินไปถึงดีปานกลาง หรือการระบายน้ าดี
                  ปานกลางถึงค่อนข้างเลวในหน่วยที่ดินที่มีคันนา (b) มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนประจุบวกต่ า และความอิ่มตัวด้วยด่างต่ าถึงสูง ซึ่งแบ่งตามการพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรม

                  ได้เป็น 4 ประเภท คือ
                                  2.5.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 41 41B 41B/40B
                  41B/44B 41C 44 44/41 44B 44B/37B 44B/40B 44B/41B และ 44C

                                  2.5.2)   หน่วยที่ดินที่มีคันนา (b) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 41b 41/41b
                  41b/44 41b,B 41b,B/44B 41B/41b,B และ 44b,B
                                  2.5.3)   หน่วยที่ดินในเขตชลประทาน (I) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 41I 41BI
                  41BI/44BI 41CI 44I 44I/41I 44BI และ 44BI/41BI

                                  2.5.4)   หน่วยที่ดินที่มีคันนาในเขตชลประทาน (b,I) ประกอบด้วย หน่วย
                  ที่ดิน 41b,I 41b,I/44I 41I/41b,I 41b,BI 41BI/41b,BI 41b,BI/44BI และ 44b,BI
                              2.6)  หน่วยที่ดินที่เป็นดินตื้น มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา
                  เป็นดินตื้น ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วนปนทรายหยาบ ดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินร่วน

                  เหนียวปนกรวด ดินร่วนปนทรายปนกรวด ดินร่วนเหนียวปนกรวดมาก หรือดินร่วนปนทรายปนกรวด
                  มาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5–8.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียว
                  ปนทราย ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวด ดินเหนียวปนกรวดมาก ดินร่วนเหนียวปน
                  กรวดมาก หรือดินร่วนปนทรายปนกรวดมาก พบก้อนกรวด หรือเศษหินปนลูกรัง หรือก้อนหิน ถึงชั้น

                  ลูกรังหรือชั้นหินพื้น มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-8.5 มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง หรือการระบาย
                  น้ าดีปานกลางถึงค่อนข้างเลวในหน่วยที่ดินที่มีคันนา (b) มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ าถึงปาน
                  กลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ าถึงสูง และความอิ่มตัวด้วยด่างต่ าถึงสูง ซึ่งแบ่งตามการ

                  พัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมได้เป็น 4 ประเภท คือ
                                  2.6.1)   หน่วยที่ดินทั่วไป ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 46 46B 46C 46D 46E
                  47 47B 47B/55B 47B/RC 47B/RL 47C 47C/55C 47C/RC 47C/RL 47D 47D/55D 47D/55D
                  47D/RC 47D/RL 47E 47E/RC 47/RL 48 48B 48B/56B 48B/RC 48C 48C/40C 48C/56C
                  48C/RC 48C/RL 48D 48D/RC 48D/RL 48E 48E/RC 48E/RL 49 49B 49B/25hi,B 49B/25hi,BM2

                  49B/49b,B 49B/56B 49C และ 49C/56C
                                  2.6.2)   หน่วยที่ดินที่มีคันนา (b) ประกอบด้วย หน่วยที่ดิน 46b 46b,B 47b
                  47b,B 48b 48b,B 49b และ 49b,B







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54