Page 155 - coffee
P. 155

3-45






                        3.2.2 ตนทุน รายได และผลตอบแทนในการผลิตกาแฟพันธุโรบัสตา

                             กาแฟเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของโลก การคากาแฟมีปริมาณและมูลคาที่สูงมาก ในอดีต

                  ประเทศไทยเคยเปนผูสงออกกาแฟพันธุโรบัสตา แตปจจุบันการสงออกมีปริมาณลดลงและผลผลิต
                  ในประเทศมีแนวโนมไมเพียงพอกับความตองการ เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกลดลง ในขณะที่การดื่มกาแฟ

                  ไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยสามารถสังเกตไดจากจํานวนผูประกอบการธุรกิจรานกาแฟที่เพิ่มมากขึ้น

                  ทั้งรายเล็กและรายใหญ ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพที่จะพัฒนากาแฟใหเปนธุรกิจครบวงจรได เนื่องจาก
                  มีปจจัยสนับสนุนหลายอยาง เชน สามารถผลิตวัตถุดิบไดเอง มีภาคอุตสาหกรรมแปรรูปรองรับ

                  ตลาดทั้งในประเทศและในภูมิภาคยังมีชองวางและมีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามการผลิตกาแฟ

                  ยังมีปญหาอุปสรรคบางประการที่ควรไดรับการแกไขกลาวคือ ผลผลิตตอไรต่ําและตนทุนการผลิตกาแฟ
                  ของไทยสูงกวาประเทศในแถบอาเซียน ซึ่งหากมีการลดอัตราภาษีนําเขาเมล็ดกาแฟตามขอตกลงการเปด

                  เขตการคาเสรีอาเซียนจะสงผลกระทบตอเกษตรกรไทยที่ตองเผชิญกับการแขงขันที่รุนแรงมากขึ้น

                  แตทั้งนี้ประเทศไทยยังมีขอไดเปรียบในเรื่องของเมล็ดกาแฟที่มีคุณภาพและมาตรฐานที่แตกตางจาก
                  เมล็ดกาแฟของประเทศเพื่อนบาน ซึ่งตรงกับความตองการของผูบริโภคทั้งในประเทศและตางประเทศ

                  สงผลใหผูประกอบการแปรรูปกาแฟและผลิตภัณฑกาแฟในประเทศยังมีความตองการเมล็ดกาแฟของ

                  เกษตรกรไทย ดังนั้นเกษตรกรไทยควรที่จะรักษาขอไดเปรียบในสวนนี้ไวดวยการจัดการสวนที่ดี
                  มีการวางแผนการผลิตและการตลาดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ในการกําหนดเขตการใชที่ดิน

                  พืชเศรษฐกิจกาแฟในครั้งนี้ไดมีการศึกษาและวิเคราะหดานตนทุน ผลตอบแทนของการปลูกกาแฟ
                  พันธุโรบัสตาตลอดชวงอายุเพื่อใชเปนแนวทางประกอบการตัดสินใจในการลงทุนของเกษตรกรและ

                  ผูสนใจรวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของ สามารถนําขอมูลที่ไดไปใชเปนแนวทางในการกําหนดมาตรการ

                  ที่เกี่ยวของตอไป
                             ในการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อปลูกกาแฟนั้น จําเปนตองศึกษาขอมูลหลายดาน

                  เพื่อนํามาประกอบในการวิเคราะหปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อการพิจารณากําหนดเขตการใชที่ดิน

                  ที่เหมาะสมที่สุดในการปลูกกาแฟใหประสบผลสําเร็จ ซึ่งขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคมเปนปจจัยหนึ่ง
                  ที่จะนํามาใชประกอบการพิจารณา โดยการวิเคราะหขอมูลทางดานเศรษฐกิจจะทําการศึกษาในแงของ

                  ตนทุน ผลผลิต รายไดและผลตอบแทนที่เกษตรกรไดรับ ซึ่งจะประเมินออกมาในรูปของตัวเงินเพื่อนํา

                  ผลการวิเคราะหทางการเงินนี้มาเปนตัวชี้วัดตัวหนึ่งถึงประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งจะตองนํามาพิจารณา
                  รวมกับการประเมินความเหมาะสมทางดานกายภาพของดิน สภาพภูมิอากาศและความตองการของพืช

                  เพื่อแสดงใหเห็นถึงความเหมาะสมของการปลูกกาแฟในแตละพื้นที่ และเพื่อเปนแนวทางในการกําหนดเขต
                  การใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ ในการเพาะปลูกกาแฟที่มีความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากที่สุดตอไป

                             การผลิตพืชไมวาจะเปนพืชชนิดใดก็ตาม เกษตรกรยังขาดขอมูลดานตัวเลขที่จะนําไปทํา

                  การวิเคราะหการลงทุนและผลตอบแทนของตนเอง ซึ่งจริงๆ แลวในยุคสภาวะวิกฤตที่มีการแขงขันของ





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160