Page 111 - coffee
P. 111

บทที่ 3

                                       การวิเคราะหเพื่อกําหนดเขตการใชที่ดิน




                  3.1  การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ


                        การประเมินคุณภาพที่ดิน (Land  evaluation) เปนการพิจารณาศักยภาพของหนวยทรัพยากรที่ดิน
                  ตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ในระดับการจัดการที่ตางกัน (บัณฑิต ตันศริ และคํารณ ไทรฟก, 2542)

                  ซึ่งการประเมินคุณภาพที่ดินเปนขั้นตอนหนึ่งที่มีความสําคัญในการพิจารณาคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม

                  ในระดับตางๆ เพื่อใชในการกําหนดเขตการใชที่ดิน
                        การกําหนดเขตพืชเศรษฐกิจกาแฟนี้ไดนําวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามกรอบของ FAO

                  Framework 1983 มาใช เนื่องจากวิธีการดังกลาวสามารถใชไดกับทุกมาตราสวนของการสํารวจและ

                  สามารถตอบวัตถุประสงคไดเที่ยงตรง โดยการประเมินสามารถทําได 2 รูปแบบ ดังนี้
                        รูปแบบแรก คือ การประเมินดานคุณภาพหรือการประเมินเชิงกายภาพเปนการประเมินวาดิน

                  มีความเหมาะสมมากหรือนอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดิน (Land use type) ประเภทตางๆ

                        รูปแบบที่สอง คือ การประเมินทางดานปริมาณหรือดานเศรษฐกิจ ซึ่งจะใหคาตอบแทนในรูป
                  ปริมาณผลผลิตที่ไดรับ ตัวเงินในการลงทุน และตัวเงินจากผลตอบแทนที่ไดรับ

                        กาแฟพันธุที่ปลูกในประเทศไทย ไดแก พันธุโรบัสตา (Robusta) และพันธุอาราบิกา (Arabica)

                  โดยเกษตรกรสวนใหญปลูกกาแฟพันธุโรบัสตาประมาณรอยละ 95 ของพันธุที่ปลูก (สถาบันวิจัยพืชสวน

                  กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2553) แหลงปลูกที่สําคัญทางภาคใต ไดแก จังหวัดชุมพร ระนอง กระบี่
                  สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ และพังงา สําหรับพันธุอาราบิกามีการปลูกในพื้นที่

                  ภาคเหนือ ไดแก จังหวัดเชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน และตาก โดยพื้นที่ปลูกกาแฟสวนใหญของ

                  ภาคเหนืออยูในเขตปาไมตามกฎหมาย แตในการดําเนินการกําหนดเขตพืชเศรษฐกิจกาแฟไดพิจารณา
                  เฉพาะพื้นที่นอกเขตปาไมตามกฎหมายเทานั้น ดังนั้นการวิเคราะหความเหมาะสมของที่ดินเพื่อการ

                  กําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟจึงพิจารณาเฉพาะกาแฟพันธุโรบัสตาในพื้นที่ภาคใต และ

                  พื้นที่ภาคตะวันออกที่มีความเหมาะสมทางดานกายภาพสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจกาแฟ เพื่อใชเปน

                  ฐานขอมูลในกรณีที่จะมีการเปลี่ยนพื้นที่ปลูกรองรับพื้นที่ปลูกกาแฟในเขตปาไมตามกฎหมาย


                        3.1.1 ระดับความตองการปจจัยสําหรับพืชเศรษฐกิจกาแฟ
                             การประเมินดานคุณภาพหรือการประเมินเชิงกายภาพนั้น ในระบบของ FAO

                  Framework ไดกําหนดคุณภาพที่ดิน (Land  quality) ไวทั้งหมด 25 ชนิด เพื่อใชประกอบการประเมิน

                  ความเหมาะสมของพื้นที่สําหรับการปลูกพืช โดยชนิดคุณภาพที่ดินที่นํามาประยุกตใชขึ้นอยูกับความ





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116