Page 62 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 62

51







                       ดัชนีนี จึงเหมาะส าหรับการประมาณความแข็งแรงตลอดวงจรการเพาะปลูกโดยพิจารณาจากลักษณะที่พืช
                       สะท้อนช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าบางช่วง ช่วยให้ทราบสถานะปัจจุบัน ซึ่งสามารถเปรียบเทียบกับภาพตาม
                       อนุกรมของช่วงเวลา (time series) เพื่อสังเกตวิวัฒนาการเมื่อเวลาผ่านไปเมื่อรู้ว่าค่า NDVI เปลี่ยนแปลง
                       อย่างไร ซึ่งท าให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าใจว่าค่า NDVI สามารถช่วยให้ให้ทราบว่าพืชมีสุขภาพดีหรือไม่

                       แข็งแรง ดัชนีนี ขึ นอยู่กับการสะท้อนพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้และช่วงคลื่นแสงสี
                       แดงในการประเมินตัวบ่งชี โดยสายตามนุษย์ไม่สามารถท าได้ พืชมีสีเขียวเพราะเม็ดสีคลอโรฟิลล์ที่มีอยู่ใน
                       พืชนั นสะท้อนคลื่นสีเขียวและดูดซับคลื่นสีแดง ซึ่งหมายความว่าพืชที่แข็งแรงซึ่งมีคลอโรฟิลล์และ
                       โครงสร้างเซลล์จ านวนมากจะดูดซับแสงสีแดงและสะท้อนคลื่นอินฟราเรดใกล้ เมื่อมีการสังเคราะห์ด้วย

                       แสง ท าให้พืชพัฒนาและเติบโตและมีโครงสร้างเซลล์มากขึ น แต่พืชที่ไม่แข็งแรงจะมีการสะท้อนแสงที่
                       ตรงกันข้าม ดังนั นจากความสัมพันธ์ระหว่างแสงและคลอโรฟิลล์จึงเป็นวิธีที่เราสามารถใช้ค่า NDVI เพื่อ
                       แยกความแตกต่างของพืชที่แข็งแรงจากพืชที่เป็นโรคได้เซ็นเซอร์ของดาวเทียม ซึ่งลายเซ็นต์เชิงคลื่นนี ท า
                       ให้การวิเคราะห์ค่า NDVI สามารถตรวจจับและวัดปริมาณพืชสีเขียวที่มีชีวิตโดยใช้แสงสะท้อนในช่วงคลื่น

                       อินฟราเรดใกล้และช่วงคลื่นแสงสีแดง (Gao, 1996)
                                 2) ดัชนีความต่างของพืชพรรณด้วยช่วงคลื่นแสงสีเขียว (Green Normalized Difference
                       Vegetation Index: GNDVI) เป็นดัชนีวัดความเขียวของพืชโดยใช้ความแตกต่างของช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้

                       (NIR) และแถบสีเขียว (GREEN) ของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งพัฒนาโดย Gitelson  et al. (1996) ค่า
                       GNDVI มีความไวต่อการแปรผันของคลอโรฟิลล์ในพืชมากกว่าค่า NDVI และมีจุดอิ่มตัวที่สูงกว่า สามารถใช้ใน
                       พืชที่มีทรงพุ่มหนาแน่นหรือในขั นตอนการพัฒนาขั นสูง ในขณะที่ค่า NDVI เหมาะส าหรับการประมาณความ
                       แข็งแรงของพืชในระยะแรก ค่า GNDVI เป็นดัชนีวัดกิจกรรมการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นดัชนีคลอโรฟิลล์และ
                       ถูกน ามาใช้มากขึ น ในการก าหนดปริมาณน  าและไนโตรเจนในเรือนยอดของพืชเนื่องจากมีความอิ่มตัวช้ากว่า

                       ค่า NDVI เป็นดัชนีพืชชนิดหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ปริมาณคลอโรฟิลล์เป็นตัวบ่งชี ทางชีวภาพที่ส าคัญ
                       ส าหรับกระบวนการทางสรีรวิทยาหลายอย่างที่เชื่อมโยงชีพลักษณ์ของพืช ความสามารถในการสังเคราะห์แสง
                       และการตรวจจับความเครียด รวมถึงความเครียดจากภัยแล้ง ค่า GNDVI มีค่าตั งแต่ -1 ถึง 1 เช่นเดียวกับค่า

                       NDVI โดยค่าระหว่าง -1 ถึง 0  สัมพันธ์กับการมีน  าหรือที่ดินว่างเปล่า ดัชนีนี ส่วนใหญ่ใช้ในขั นตอนกลางและ
                       ขั นสุดท้ายของวงจรการเพาะปลูก
                              3) ดัชนีความต่างของคลื่นอินฟราเรด (Normalized Difference Infrared Index: NDII) เป็น
                       ดัชนีที่วัดการสะท้อนแสงโดยการหาค่าความแตกต่างระหว่างช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้และช่วงคลื่น

                       (shortwave infrared: SWIR) ซึ่งพัฒนาโดย Hunt and Rock (1989) ซึ่งใช้สูตรค านวณเดียวกันกับ
                       Normalized Difference Water Index (NDWI) ที่พัฒ นาโดย Gao (1 9 9 6 ) หรือ  Normalized
                       Difference Moisture Index (NDMI) (Sentinel Hub, 2017b) ดั ช นี  NDII มี ค ว าม ไว ต่ อ ก าร
                       เปลี่ยนแปลงของปริมาณน  าในเรือนยอดของพืช (Ji et al., 2011) สามารถใช้ตรวจจับความเครียดในน  า

                       ของพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามคุณสมบัติของการสะท้อนแสงอินฟราเรดคลื่นสั น ซึ่งมีความสัมพันธ์
                       เชิงลบกับปริมาณน  าในใบ เนื่องจากการดูดซับปริมาณมากโดยใบไม้ ค่าดัชนีจะเพิ่มขึ นตามปริมาณน  าที่
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67