Page 57 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 57

46







                       เนื อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดของล าต้น ซึ่งบริเวณดังกล่าวจะมีใบที่ก าลังพัฒนาอยู่ประมาณ 50 ใบ ที่
                       ซอกท าใบทุกใบจะมีการสร้างตาดอก ซึ่งดอกจะเป็นดอกตัวผู้หรือดอกตัวเมียนั น ขึ นอยู่กับความอุดม
                       สมบูรณ์ในช่วงเวลาที่ก าหนดเพศ (ธีระพงศ์, 2562)

                       ตารางที่ 7 ลักษณะการเจริญเติบโตของปาล์มน  ามันเมื่ออายุ 14 ปี
                        ระยะปลูก       พื นที่ใบ   น  าหนังแห้งใบ  ความยาวทางใบ     ความสูง    เส้นรอบล าต้น

                          (เมตร)       (เมตร )      (กิโลกรัม)      (เซ็นติเมตร)   (เซ็นติเมตร)  (เซ็นติเมตร)
                                            2
                        8 x 8 x 8        9.8           4.0            619.1          645.8        204.5
                        9 x 9 x 9        9.7           4.4            597.6          611.7        240.0

                       10 x 10 x10       9.9           4.5            608.4          607.8        244.0
                       ที่มา: ธีระพงศ์ (2562)
































                       ภาพที่ 12 ลักษณะล าต้นของปาล์มน  ามัน
                       ที่มา: ศูนย์วิจัยและพัฒนาการผลิตปาล์มน  ามัน คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

                       อ้างอิงใน ธีระพงศ์ (2562)

                       3.2 เทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing, RS)
                                   การเกษตรแบบยั่งยืนและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมีความส าคัญต่อความมั่นคงทาง

                       อาหารส าหรับประชากรโลกที่เพิ่มขึ น อย่างไรก็ตามจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท าให้การเกษตร
                       ต้องเผชิญกับความท้าทายที่ไม่เคยมีมาก่อนในการผลิตพืชซึ่งนับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ น ดังนั นจึง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62