Page 61 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 61

50







                       ในช่วงคลื่นต่างๆ ที่แตกต่างกันเพื่อหาอัตราสวน  (Band  Ratio)  ของพลังงานแมเหล็กไฟฟาซึ่งเรียกวา
                       ดัชนีพืชพรรณ (Vegetation Indices)
                               3.3.1 ดัชนีพืชพรรณ (Vegetation Indices) เป็นการน าช่วงคลื่นที่เกี่ยวข้องข้องกับพืชพรรณ
                       มาท า การค านวณค่าสัดส่วนต่อกัน ซึ่งค่าที่น ามาค านวณนี มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างพลังงานคลื่น

                       แม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์กับพืชพรรณที่สะท้อนปริมาณแสงตกกระทบในพื นที่เพาะปลูกพืชในสัดส่วน
                       ที่แตกต่างกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน ดัชนีพืชพรรณถูกสร้างขึ นเพื่อปรับเน้นข้อมูลใหมีความเหมาะสมตอการ
                       ใชงาน หรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของขอมูลใหแสดงความชัดเจนในสิ่งที่ท าการศึกษามากขึ น ซึ่งสามารถ
                       บ่งบอกถึงสัดส่วนของพืชพรรณที่ปกคลุมพื นผิว สถานะของพืชรวมถึงสภาพความแข็งแรงและความ

                       ผิดปกติของพืชนั นในพื นที่แปลงปลูกพืช โดยทั่วไปค่าดัชนีพืชพรรณ (VI) สามารถประยุกต์ วิธีการค านวณ
                       ไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานได้อย่างหลากหลาย ตัวอย่างเช่น ดัชนีความต่างของพืชพรรณ
                       (normalized difference vegetation index:NDVI) (Rouse et al., 1974; Thompson et al., 2015)
                       ดัชนีความต่างของพืชพรรณด้วยช่วงคลื่นแสงสีเขียว (green normalized difference vegetation

                       index: GNDVI) (Gitelson et al., 1996) และ ดัชนีความต่างของคลื่นอินฟราเรด (Normalized
                       Difference Infrared Index:NDII) (Hunt and Rock, 1989) เป็นต้น (ตารางที่ 8) สามารถน ามาใช้เพื่อ
                       ตรวจสอบสถานะการเจริญเติบโตของพืชตามเวลาจริง การท านายหรือประเมินคุณลักษณะของพืช เช่น

                       พื นที่ใบ มวลชีวภาพ ความสมบูรณของพืชและความหนาแนนของพืชซึ่งจะเป็นประโยชน์ในแง่มุมต่างๆ
                       เช่น เพื่อวัดสถานะของต้นกล้า (ก่อนและระหว่างขั นตอนการปลูก) เพื่อปรับใช้เทคนิคการจัดการเวลา
                       อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อความอยู่รอดและผลผลิตของพืช หรือเพื่อส่งเสริมแนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืนมากขึ น
                       การประยุกต์ใช้ดัชนีพืชพรรณที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่
                       เกี่ยวข้องกับภัยแล้ง และเหตุการณ์รุนแรง เช่น คลื่นความร้อนซึ่งเริ่มเข้าสู่ภูมิภาคที่ขณะนี ประสบปัญหา

                       ภัยแล้ง เป็นต้น (ชรัตน, 2540)
                               1) ดัชนีความต่างของพืชพรรณ (Normalized Difference Vegetation Index : NDVI) เป็น
                       ค่าดัชนีที่นิยมใช้เป็นตัวบ่งชี ที่แสดงความเขียว ความหนาแน่น และสุขภาพของพืชในแต่ละพิกเซลของ

                       ภาพถ่ายดาวเทียม เป็นหนึ่งในดัชนีพืชพรรณที่ใช้กันแพร่หลายมากที่สุดในการรับรู้จากระยะไกล
                       นับตั งแต่เปิดตัวในปี 1970 และการเกษตรดิจิทัลก็เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่ใช้ประโยชน์จากดัชนีนี มาก
                       ที่สุดเป็นการน าค่าสะท้อนของพื นผิวระหว่างช่วงคลื่นใกล้อินฟราเรดกับช่วงคลื่นตามองเห็นสีแดงมาท า
                       สัดส่วนกับค่าผลบวกของทั งสองช่วงคลื่นเพื่อปรับให้เป็นลักษณะการกระจายแบบปกติ ท าให้ค่า NDVI มี

                       ค่าอยู่ระหว่าง -1 ถึง 1 ซึ่งจะช่วยในการแปลผลได้ง่ายขึ น โดยที่ค่า 0 หมายถึงไม่มีพืชพรรณใบเขียวอยู่ใน
                       พื นที่ส ารวจ ในขณะที่ค่า 0.8 หรือ 0.9 หมายถึงพืชพรรณใบเขียวหนาแน่นมากในพื นที่ดังกล่าว กรณีที่
                       พื นผิวมีพืชพรรณปกคลุมจะมีค่าการสะท้อนในช่วงคลื่นอินฟราเรดสูงกว่าช่วงคลื่นตามองเห็นสีแดงทาให้
                       NDVI มีค่าเป็นบวกในขณะที่พื นผิวดินจะมีค่าการสะท้อนระหว่างสองช่วงคลื่นใกล้เคียงกันทาให้ NDVI มี

                       ค่าใกล้เคียง 0 ส่วนกรณีที่พื นผิวเป็นน  าจะมีค่าการสะท้อนในช่วงคลื่นใกล้อินฟราเรดต่ ากว่าช่วงคลื่นตา
                       มองเห็นสีแดงท าให้ค่า NDVI มีค่าติดลบทั งนี โดยปกติค่านี จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0.1 ถึง 0.7 เท่านั น ดังนั น
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66