Page 63 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 63

52







                       เพิ่มขึ น ท าให้ประยุกต์ใช้ในการจัดการพืชผลทางการเกษตร การตรวจสอบเรือนยอดไม้ในป่า และการ
                       ตรวจจับความเครียดของพืช (Hardisky et al., 1983; Sentinel Hub, 2017b) ซึ่งค่า NDSI สามารถใช้
                       ในการตรวจจับความเครียดของน  าในบริเวณรากของพืช เนื่องจากค่า NDII ไวต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะ
                       น  าของพืช และเนื่องจากความไวนี เพื่อปริมาณน  าของพืช NDII ให้ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ

                       สภาพพืชมากกว่า NDVI โดย NDII แสดงความสัมพันธ์สูงกับความชื นในชั นดินบนบริเวณรากในระดับ
                       ภูมิภาค (Ochoa et al., 2023) โดยช่วงคลื่นสั นอินฟราเรดใกล้ สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงทั งปริมาณน  า
                       ของพืชและโครงสร้างในชั นเมโสฟิลล์ (spongy mesophyll) ใน.[ของพืช ในขณะที่ค่าการสะท้อนแสง
                       ของช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ได้รับผลกระทบจากโครงสร้างภายในใบและปริมาณวัตถุแห้งของใบไม้ แต่

                       ไม่ได้รับผลกระทบจากปริมาณน  า การวิเคราะห์รวมกันของช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้กับช่วงคลื่นสั น
                       อินฟราเรดใกล้ ช่วยขจัดความผันแปรที่เกิดจากโครงสร้างภายในใบและปริมาณวัตถุแห้งในใบ ท าให้
                       ปรับปรุงความแม่นย าในการดึงข้อมูลปริมาณน  าของพืช ปริมาณน  าที่มีอยู่ในโครงสร้างใบภายในส่วนใหญ่
                       ควบคุมการสะท้อนคลี่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วง ช่วงคลื่นสั นอินฟราเรดใกล้ ดังนั นการสะท้อนช่วงคลื่นสั น

                       อินฟราเรดใกล้จึงสัมพันธ์เชิงลบกับปริมาณน  าในใบ ท าให้ดัชนี NDณI สามารถใช้เพื่อติดตามการ
                       เปลี่ยนแปลงของปริมาณน  าในใบไม้ (Sentinel Hub, 2017b) ซึ่งค่า NDII จะอยู่ในช่วง -1 ถึง 1 ซึ่งช่วง
                       ทั่วไปส าหรับพืชสีเขียวอยู่ระหว่างค่า 0.02 ถึง 0.6 (Hardisky et al., 1983; Sentinel Hub, 2017b)

                       ตารางที่ 8 ดัชนีพืชพรรณชนิดต่างๆ
                       ล าดับ    ดัชนีพืชพรรณ                   สูตร                         อ้างอิง

                         1          NDVI               (NIR - red) / (NIR + red)       Rouse et al., 1974
                         2          GNDVI           (NIR - Green) / (NIR + Green)     Gitelson et al., 1996

                         3            NDII           (NIR - SWIR) / (NIR + SWIR)      Hunt and Rock, 1989

                               3.3.2 การศึกษาค่าสะท้อนแสงจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมกับการศึกษาด้านชีพลักษณ์พืช
                                     ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมมีการบันทึกอย่างต่อเนื่องท าให้สามารถศึกษาลักษณะการ
                       แสดงออกของพืชที่สัมพันธ์กับฤดูกาล เช่น การเปลี่ยนแปลงของชีพลักษณ์ของพืช ได้แก่ การเจริญเติบโต
                       ในระยะต่างๆ การขาดน  าในช่วงสภาวะอากาศแห้งแล้ง การทิ งใบของพืชที่ตอบสนองต่อปริมาณน  า ซึ่ง

                       ลักษณะที่พืชแสดงออกนี จะปรากฎเป็นค่าการสะท้อนที่เปลี่ยนแปลงไป ท าให้สามารถจ าแนกลักษณะที่
                       แตกต่างกันได้ รวมถึงการจ าแนกชนิดและปริมาณของสิ่งปกคลุมดิน (แคแสด และ ชรัตน์, 2562) ชีพ
                       ลักษณ์ของพืชและการส ารวจระยะไกล ต้องการการรวบรวมข้อมูลจ านวนมาก รวมถึงการสังเกตการ
                       เปลี่ยนแปลงกรดูดซับและการสะท้อนในแต่ละช่วงคลื่นและลักษณะทางชีวเคมีหรือชีวฟิสิกส์ของพืช

                       นักวิทยาศาสตร์ด้านชีพลักษณ์ของพืชก าลังพัฒนาวิธีการเพื่อจัดการข้อมูลเพื่อใช้ส าหรับจัดกาการผลิตพืช
                       และสถานการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช การใช้ข้อมูลอนุกรมเวลา
                       (timeseries) ของภาพถ่ายดาวเทียมได้ถูกน ามาใช้ในการจ าแนกชนิดของพืชอย่างแพร่หลาย  การจ าแนก

                       ชนิดพืชโดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเพียงช่วงเวลาเดียว (single-date image) ที่ยังคงมีข้อจ ากัด
                       เนื่องจากพืชแต่ละชนิดต่างมีวงจรการเจริญเติบโตในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ค่าการสะท้อนเชิงช่วงคลื่น
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68