Page 65 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 65

54







                       ในการสร้างฐานข้อมูลค่าการสะท้อนแสงในขั นแรกได้ท าการสุมตัวอย่างตามชนิดพืช ได้แก่ ไม้ยืนต้น (b)
                       พืชล้มลุก ป่าปลูก พืชกึ่งยืนต้น พืชล้มลุก ได้แก่ ระบบการปลูก 3 ชนิดพืช ใน 1 ปี ได้แก่ มันฝรั่ง ถั่ว และ
                       ข้าวโพด ซึ่งมันฝรั่ง มีการเก็บเกี่ยวระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงกลางเดือนสิงหาคม แล้วตามด้วยการปลูก
                       ข้าวโพดในเดือนกันยายน และเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ปลูกถั่วซึ่งมีอายุสั นช่วง

                       เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคมแล้วปลูกข้าวโพดตามในเดือนพฤษภาคม พบว่าการใช้ชุดข้อมูลภาคสนาม
                       ตามช่วงเวลา (time series) มาท าโมเดลร่วมกับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม พบว่าสามารถตรวจจับการปลูก
                       ข้าวโพดได้แต่ไม่สามารถตรวจจับการปลูกมันส าปะหลังและถั่วได้
                                   Cilek and Berberoglu (2018) จัดท าแผนที่รูปแบบการเพาะปลูกโดยใช้เทคนิคการ

                       จ าแนกตามวัตถุภายในพื นที่เกษตรกรรมแถบเมดิเตอร์เรเนียนในประเทศตุรกี เนื่องจากพื นที่ในแถบทะเล
                       เมดิเตอร์เรเนียนมีการเพาะปลูกพืชที่หลากหลายท าให้การแสดงลักษณะทางช่วงคลื่นที่คล้ายคลึงกันซึ่งท า
                       ให้ยากต่อการจ าแนกคุณลักษณะในพื นที่ด้วยจุดภาพในข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอย่างง่าย ดังนั นการ
                       จ าแนกตามวัตถุจึงถูกน ามาใช้ส าหรับการจ าแนกสิ่งปกคลุมดินในสภาพแวดล้อมดังกล่าว ซึ่งปัจจัยที่

                       น ามาใช้เพื่อจ าแนกภาพตามวัตถุในการการจัดท าแผนที่ให้ถูกต้องมีบทบาทส าคัญอย่างยิ่ง ซึ่งจากการวิจัย
                       พบว่า การจ าแนกตามช่วงเวลาที่แตกต่างกันสองช่วงคือฤดูหนาวและฤดูร้อนในพื นที่ศึกษาให้ความแม่นย า
                       สูง โดยเดือนมีนาคมและเมษายนเป็นเวลาถ่ายภาพที่ดีที่สุดส าหรับฤดูหนาว และระหว่างเดือนพฤษภาคม

                       ถึงสิงหาคมเป็นเวลาถ่ายภาพที่ดีที่สุดส าหรับฤดูเพาะปลูกฤดูร้อน
                                   Anand et al. (2018) ประเมินการเปลี่ยนแปลงของพืชพรรณที่ปกครอบคลุมพื นที่โดยการ
                       ใช้ดัชนี NDVI และคาดดารณ์ค่า NDVI ส าหรับปี 2028 โดยสร้างแบบจ าลองการถดถอยเชิงเส้น ซึ่งค่า
                       สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ได้สูงเท่ากับ 0.617 และพบว่าความหนาแน่นของพื นที่ป่าลดลงใน West
                       Singhbhum และพื นที่รกร้างว่างเปล่าและที่ดินเปล่าเพิ่มขึ น ซึ่งการศึกษานี แสดงให้เห็นรูปแบบการ

                       เปลี่ยนแปลงของค่า NDVI และสามารถท านายสถานการณ์ในทศวรรษหน้าได้
                                   Amin et al. (2021) การติดตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชผลช่วยในการจัดการด้าน
                       การเกษตรอย่างมีนัยส าคัญ และมีบทบาทส าคัญในการท านายผลผลิตของพืชผล การสังเกตการณ์ผ่าน

                       ดาวเทียมแบบหลายช่วงเวลาช่วยให้สามารถวิเคราะห์พลวัตตามฤดูกาลของพืชในพื นที่ขนาดใหญ่ได้โดยใช้
                       ดัชนีพืชพรรณหรือตัวแปรทางชีวกายภาพ สามเหลี่ยมปากแม่น  าไนล์ตอนเหนือเป็นพื นที่เกษตรกรรม
                       ประมาณครึ่งหนึ่งของอียิปต์ ในภูมิภาคนี  ระบบการท าฟาร์มแบบเข้มข้นมีความส าคัญมากกว่า ซึ่งแปลเป็น
                       แรงกดดันต่อความต้องการน  าประปา ยิ่งไปกว่านั น แผนการปลูกพืชหมุนเวียนสองครั งก าลังเพิ่มขึ น ท าให้

                       ต้องมีการตรวจสอบความละเอียดเชิงพื นที่และเชิงพื นที่สูงเพื่อบันทึกวงจรการเจริญเติบโตของพืชที่
                       ต่อเนื่องกัน การศึกษานี น าเสนอกรอบการท างานส าหรับการแสดงลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชผลตาม
                       อนุกรมเวลาที่มีความละเอียดเชิงพื นที่และเชิงเวลาสูงของดัชนีพื นที่ใบสีเขียว (LAI) โดยเฉพาะของนาซ่า
                                   Fortes et al. (2015) ศึกษาการใช้ค่า NDVI เพื่อท าแผนที่คาดการณ์ผลผลิตของมะเขือเทศ

                       พันธุ์โรงงาน โดยแผนที่ดังกล่าวสามารถน ามาใช้ในการแบ่งโซนในการใช้ปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย ซึ่งผลการศึกษา
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70