Page 16 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 16
6
6.3) การความสูง ความกว้างทรงพุ่มและขนาดล าต้นของยางพาราและปาล์มน ามันวัดปีละ 1
ครั ง โดยวัดในเดือนเมษายนทั งปี 2564 และ ปี 2565 ความสูงวัดโดยแอพพลิเคชั่นวัดความสูงใน
โทรศัพท์มือถือ ความกว้างทรงพุ่มและขนาดรอบล าต้นใช้สายวัดขนาด
6.4) การปริมาณคลอโรฟิลล์ ของพืชทั ง 5 ชนิด วัดเดือนละ 1 ครั ง โดยปี 2564 เริ่มวัดใน
เดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม และปี 2565 วัดในเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนและเดือนตุลาคมคมถึง
เดือนพฤศจิกายน โดยวัดในใบที่กางเต็มที่ที่ใหม่ที่สุดจ านวน 3 ใบ และหาค่าเฉลี่ยในแต่ละแปลง
7) น าเข้าข้อมูลภาคสนามเข้าสู่ระบบ GIS
8) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลค่าการสะท้อนแสงกับข้อมูลภาคสนาม โดยใช้สมการทาง
คณิตศาสตร์ ได้แก่ regression model โดยพิจารณาค่าความสัมพันธ์จากค่า p-value และ r-square โดยใช้
โปรแกรมประมวลผลทางสถิติ
9) ศึกษากระบวนการจ าแนกพื นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจในระดับลุ่มน าย่อยโดยการใช้ภาพถ่าย
ดาวเทียมหลายช่วงเวลา (multi-temporal) โดยการพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงค่าการสะท้อนแสงในรอบปี
และจากสมการทางคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ น