Page 13 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 13
3
1.4 ขอบเขตการวิจัย
การด าเนินการวิจัยได้ก าหนดขอบเขตการวิจัย 4 ด้าน คือ ขอบเขตด้านประชากร ขอบเขตเชิงพื นที่
ขอบเขตเชิงเนื อหา และ ขอบเขตเชิงระยะเวลา โดยมีรายละเอียดดังนี
1.4.1 ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่เป็นเป้าหมายในการวิจัย พืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด ได้แก่ อ้อย
มันส าปะหลัง สับปะรด ยางพารา และปาล์มน ามัน
1.4.2 ขอบเขตเชิงเนื อหา ครอบคลุม 3 ประเด็นหลัก ได้แก่
(1) การศึกษาการเจริญเติบโตของพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด โดยการส ารวจภาคสนาม จากการสุ่ม
เก็บข้อมูลจากแปลงของเกษตรกร
(2) การศึกษารูปแบบการเปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปีของพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด
โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel 2
(3) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลายเซ็นเชิงคลื่นกับลักษณะข้อมูลการเจริญเติบโตที่ได้จาก
การส ารวจภาคสนาม
1.4.3 ขอบเขตเชิงระยะเวลา โครงการวิจัยได้ด าเนินการจัดเก็บข้อมูลดังนี
(1) การส ารวจภาคสนามเพื่อวัดการเจริญเติบโตของพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด เริ่มตั งแต่เดือน
เมษายน 2564 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565
(2) การศึกษารูปแบบการเปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปีโดยการใช้ข้อมูลภาพถ่าย
ดาวเทียม Sentinel 2 ค่าเฉลี่ยรายเดือน จ านวน 5 ปี เริ่มตั งแต่เดือนมกราคม 2561 ถึง เดือนธันวาคม 2565
1.4.4 ขอบเขตเชิงพื นที่ พื นที่ศึกษา ได้แก่ แปลงของเกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด กระจาย
ครอบคลุมพื นที่ลุ่มน าย่อยล าภาชี
1.5 สมมติฐานของการศึกษา
1.5.1 ค่าสะท้อนแสงและค่าดัชนีพืชพรรณจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมของวัตถุที่ต่างกันมีค่าที่ต่างกัน
1.5.2 ค่าสะท้อนแสงและค่าดัชนีพืชพรรณของพืชมีการเปลี่ยนแปลงในรอบปีขึ นกับฤดูกาล
1.5.3 ค่าสะท้อนแสงและค่าดัชนีพืชพรรณของพืชมีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตและความ
สมบูรณ์ของพืช
1.6 อุปกรณ์และวิธีด าเนินงาน
การศึกษาในครั งนี เป็นการศึกษาศักยภาพในการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีส ารวจระยะไกล (Remote
Sensing: RS) ที่ได้จากภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดปานกลาง Landsat 8 ในการศึกษารูปแบบการ
เปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปีของพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิดโดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม
Landsat 8 และศึกษาความสัมพันธ์กับข้อมูลภาคสนามโดยขั นตอนและวิธีการมีรายละเอียดดังนี
1.6.1 อุปกรณ์
อุปกรณ์และข้อมูลที่ใช้ในการศึกษามีดังนี
1) ฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลขขอบเขตการปกครอง ปี 2556 กรมการปกครอง