Page 14 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 14

4







                                 2) ฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลขภูมิประเทศเชิงเลข มาตราส่วน 1:50,000 กรมแผนที่ทหาร
                                 3) ฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลขชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 กรมพัฒนาที่ดิน
                                 4) ฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลขขอบเขตลุ่มน  า กรมพัฒนาที่ดิน
                                 5) ฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลขพื นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด มาตราส่วน 1:25,000 กรมพัฒนาที่ดิน

                                 6) ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากแหล่งต่างๆ
                                 7) โปรแกรมประมวลผลด้านรีโมทเซ็นซิ่ง
                                 8) โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
                                 9) โปรแกรมวิเคราะห์ทางด้านสถิติ

                                 10) เครื่องมือระบุพิกัดของพื นที่ (GPS)
                                 11) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์พกพา
                                 12) กล้องถ่ายภาพดิจิทัล
                                 13) เครื่องมือวัดชนิดต่างๆ ได้แก่ ไม้บรรทัด สายวัดระยะ เวอร์เนียคาลิปเปอร์ (Vernier

                       Caliper) แอพพลิเคชั่นในโทรศัพท์มือถือส าหรับการวัดความสูงไม้ยืนต้น
                           1.6.2 วิธีการด าเนินการวิจัย
                                 1) คัดเลือกพื นที่ด าเนินการ โดยคัดเลือกลุ่มน  าย่อยที่มีพื นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด ได้แก่

                       อ้อย มันส าหลัง สับปะรด ยางพารา และปาล์มน  ามัน เป็นหลัก ได้แก่ ลุ่มน  าย่อยล าภาชี
                                 2) รวบรวมฐานข้อมูลแผนที่เชิงเลข และข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการปลูกพืชเศรษฐกิจทั ง
                       5 ชนิด เช่น ปฏิทินการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจแต่ละชนิดภายในลุ่มน  าย่อยล าภาชี
                                 3) ปรับปรุงฐานข้อมูลแผนที่พื นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิด ในลุ่มน  าย่อยที่ท าการศึกษาให้
                       เป็นปัจจุบันโดยวิเคราะห์จากภาพถ่ายดาวเทียมและการส ารวจภาคสนาม

                                 4)  คัดเลือกแปลงศึกษาในลุ่มน  าย่อยที่ท าการศึกษาเพื่อใช้เป็นแปลงข้อมูลอ้างอิงส าหรับ
                       การศึกษาค่าลายเซ็นต์เชิงคลื่นและการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของพืชที่เปลี่ยนแปลงในรอบปี โดยมี
                       ขั นตอนดังนี

                                   4.1) คัดเลือกแปลงข้อมูลอ้างอิงส าหรับแปลงปลูกอ้อย มันส าปะหลัง และปลูกสับปะรด
                       โดยสุ่มคัดเลือกแปลงตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic sampling) ตามชนิดพืชให้กระจายทั่วลุ่มน  าย่อย
                       ที่ท าการศึกษา
                                   4.2) คัดเลือกแปลงข้อมูลอ้างอิง (referrnce plots) ของพืชแต่ละชนิดแบบจ าเพาะ

                       เจาะจง (purposive sampling) โดยพิจารณาเลือกแปลงที่มีขนาด 10 – 50 ไร่ ลักษณะที่ไม่มีความ
                       แปรปรวน (homogenous) ไม่มีสิ่งปกคลุมดินชนิดอื่นปะปนหรือมีน้อยมาก เช่น ไม้พุ่ม การปลูกพืชอื่น
                       ผสม หรือมีสิ่งปลูกสร้างโดยพิจารณาจากภาพถ่ายดาวเทียมและการส ารวจภาคสนาม กระจายทั่วลุ่ม
                       น  าย่อยที่ท าการศึกษา (ภาพที่ 1)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19