Page 15 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 15
5
5) รวบรวมข้อมูลและเตรียมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม
5.1) รวบรวมข้อมูลและเตรียมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel 2 ชนิด
COPERNICUS/S2 บริเวณลุ่มน าภาชีผ่าน https://code.earthengine.google.com/ ซึ่งค่าที่ได้จะเป็น
ค่าเฉลี่ยรายเดือนของทุกเดือนในปีที่ศึกษาเพื่อใช้ในการศึกษาค่าการสะท้อนแสง ลายเซ็นเชิงคลื่น และ
ความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตโดยใช้ค าสั่ง
var sentinel2 = ee.ImageCollection("COPERNICUS/S2");
//var Phashe = ee.FeatureCollection("geometry");
var Phashe = ee.FeatureCollection("users/totsanatrtk/Phashe");
// Filter the image collection using filterBounds() and filterDate() method.
// Sort the collection by cloud cover metadata
// Create the mosaic image and clip it to Phashe boundary
var image_dry = sentinel2
.filterBounds(Phashe)
.filterDate('2022-09-01', '2022-09-30')
.sort('CLOUDY_PIXEL_PERCENTAGE', false)
.mosaic()
.clip(Phashe);
5.2) เตรียมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมโดยการค านวณค่าดัชนีพืชพรรณ 3 ชนิด ได้แก่ ดัชนี
NDVI ดัชนี GNDVI และ ดัชนี NDII ผ่าน https://code.earthengine.google.com/ โดยใช้ค าสั่ง
var ndvi = image_dry.normalizedDifference(['B8', 'B4']);
var gndvi= image_dry.normalizedDifference (['B8', 'B3']);
var ndii = image_dry.normalizedDifference(['B8', 'B11']);
6) เก็บข้อมูลภาคสนาม ท าการส ารวจและเก็บข้อมูลพืชในแปลงข้อมูลอ้างอิง ได้แก่ ความสูง
ความกว้างทรงพุ่ม ขนาดล าต้น และปริมาณคลอโรฟิลล์ โดยใช้เครื่องวัดคลอโรฟิลล์ SPAD-502 บริษัท
Konica Minolta มีรายละเอียดดังนี
6.1) การสุ่มเก็บข้อมูลพืชในแปลงข้อมูลอ้างอิงท าการวัดจากพืช 5 ต้นต่อแปลงเพื่อหาค่าเฉลี่ย
โดยต้นที่สุ่มจะเลือต้นที่มีการเจริญเติบโตที่ใกล้เคียงกันทั งแปลงและสุ่มเก็บหลายจุดให้กระจายทั่วทั งแปลง
6.2) การความสูง ความกว้างทรงพุ่มและขนาดล าต้นของ อ้อย มันส าปะหลัง และสับปะรด
วัดเดือนละ 1 ครั ง โดยปี 2564 เริ่มวัดในเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคม และปี 2565 วัดในเดือนมกราคมถึง
เดือนเมษายนและเดือนตุลาคมคมถึงเดือนพฤศจิกายน โดยใช้สายวัด การวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางล าต้น
ของอ้อยและมันส าปะหลัง ที่ระดับความสูง 15 เซ็นติเมตรเหนือผิวดิน โดยใช้เวอร์เนียคาลิปเปอร์