Page 20 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 20
9
2.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ: ลักษณะภูมิประเทศของลุ่มน าล าภาชีแบ่งได้เป็น 3 ส่วน (เอกสิทธิ์ และคณะ, 2561) คือ
1) ภูเขาลูกคลื่นลอนลาดและที่ราบ พื นที่ภูเขาอยู่บริเวณทิศใต้และทิศตะวันตกของลุ่มน าซึ่งเป็น
ต้นก าเนิดของแม่น า
2) พื นที่ลูกคลื่นลอนลาดอยู่ทางทิศตะวันออกซึ่งเป็นส่วนต่อระหว่างลุ่มน าล าภาชีกับที่ราบแม่น า
แม่กลอง
3) พื นที่ราบเป็นพื นที่บริเวณจุดบรรจบกับแม่น าแควน้อยแถบอ าเภอด่านมะขามเตี ยและที่ราบ
ในร่องเขาบริเวณตอนกลางของพื นที่ลุ่มน าซึ่งเป็นที่ราบแคบ ๆ ตามล าน าสาขาของล าภาชี
2.1.3 ลักษณะภูมิอากาศ: สภาพอากาศทั่วไปของลุ่มน าล าภาชี อ้างอิงจากสภาพภูมิอากาศทั่วไปของ
จังหวัดราชบุรี (ส านักงานจังหวัดราชบุรี, 2560, สถานีอุตุนิยมวิทยาราชบุรี, 2565) มีรายละเอียดดังนี
1) ฤดูกาล: ลุ่มน าล าภาชีได้รับอิทธิพลของลมมรสุมที่พัดเวียนประจ าฤดูกาล 2 ชนิด คือพัดจาก
ทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาวเรียกว่าลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อิทธิพลของลมนี ท าให้บริเวณ 7
จังหวัดราชบุรี มีอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดจากทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ในฤดูฝน ท าให้อากาศชุ่มชื นและมีฝนตกทั่วไป และเมื่อพิจารณาตามลักษณะ
ลมฟ้าอากาศของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ฤดู ดังนี
1.1) ฤดูฝน เริ่มตั งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นฤดูที่มีลมมรสุม
ตะวันตก เฉียงใต้พัดจากมหาสมุทรอินเดียปกคลุมประเทศไทย ลมนี เป็นลมร้อนและชื นจึงท าให้มีฝนชุกทั่วไป
และมีอากาศ ชุ่มชื น เดือนที่มีฝนตกมากที่สุดคือเดือนตุลาคม ฤดูฝนของลุ่มน าล าภาชี แบ่งออกเป็น 2 ช่วง
ได้แก่ ช่วงแรก ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคมช่วงนี ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
และช่วงที่สอง ประมาณเดือนกันยายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน ช่วงนี ได้รับอิทธิพลจากร่องมรสุมที่เลื่อนลง
มาจากทางภาคเหนือมาปะทะแนวเทือกเขาตระนาวศรี
2.2) ฤดูร้อน เริ่มตั งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ระยะนี เป็นช่วงว่าง
ของฤดู มรสุมจะมีลมจากทิศใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุม ท าให้มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป เดือน
เมษายนเป็น เดือนที่มีอากาศร้อนอบอ้าวที่สุดในรอบปี เนื่องจากดวงอาทิตย์ได้โคจรจากซีกโลกใต้มาอยู่ใน
ละติจูดที่ตั งฉากกับ ประเทศไทย จึงได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์เต็มที่
3.3) ฤดูหนาว เริ่มตั งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ซึ่งเป็นฤดูมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือความกดอากาศสูงจากประเทศจีนซึ่งมีคุณสมบัติหนาวเย็นและแห้ง จะแผ่ลงมาปกคลุม
ประเทศไทย ท าให้อากาศเย็นและแห้งแล้ง โดยในเดือนธันวาคมและมกราคมมีอากาศหนาวจัดในรอบปี
2) อุณหภูมิ: จากข้อมูลอุณหภูมิ ระหว่างปี พ.ศ.2561 ถึงปี พ.ศ. 2565 (ตารางที่ 1) ซึ่งจาก
ข้อมูลของข้อมูลอุณหภูมิจังหวัดราชบุรีที่เป็นจังหวัดในภาคกลางใกล้อ่าวไทย อุณหภูมิโดยเฉลี่ยจึงไม่สูงมาก
นัก อากาศไม่ร้อนอบอ่าวมากในฤดูร้อน และไม่หนาวมากในฤดูหนาว ในรอบ 5 ปีอุณหภูมิเฉลี่ยทั งปีเท่ากับ
26.06 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยเท่า 33.64 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 18.48 องศา
เซลเซียส