Page 30 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 30
2-2
2.1.7 พื้นที่, ลักษณะภูมิประเทศ (Terrain) พื้นที่ในทางวิศวกรรมและในทางทหาร หมายถึง
ที่ดินเหมือนกันแต่บางครั้งมักจะมีความหมายเฉพาะเจาะจงยังสัณฐานภูมิประเทศ (Landform) ในที่ดิน
นั้นหรือสภาพของชั้นดินและหินของที่ดินนั้น
2.1.8 ธรณีสัณฐาน, ภูมิสัณฐาน (Landform) ธรณีสัณฐาน หมายถึง แบบรูปหรือลักษณะของ
เปลือกโลกที่มีรูปพรรณสัณฐานต่างๆ กัน เช่น ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบ และอื่นๆ การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ
ภูมิประเทศ เรียกว่า ธรณีสัณฐานวิทยา (กองวางแผนการใช้ที่ดิน, 2535)
2.1.9 บรรยากาศ (Atmosphere) บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกด้วยอ านาจแรงดึงดูดของโลกนั้นมี
ความส าคัญต่อการด ารงชีพและการหายใจของสิ่งมีชีวิต ท าหน้าที่ป้องกันไม่ให้อุณหภูมิของโลกร้อนจัด
ในเวลากลางวัน หรือหนาวจัดในเวลากลางคืน ท าหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลต รังสี
เอ็กซ์ รังสีคอสมิก ไม่ให้ผ่านเข้ามาท าลายสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลก ท าหน้าที่เป็นตัวกลางสะท้อนแสง
นอกจากนี้เมื่อบรรยากาศเคลื่อนที่จะเป็นตัวการส าคัญท าให้มีการถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลจาก
ที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง ซึ่งมีผลต่อความสมดุลของระบบนิเวศ
ลมฟ้าอากาศ หมายถึง สภาพของบรรยากาศในเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือสถานที่ใดสถานที่
หนึ่ง และมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวันเวลาและสถานที่
ภูมิอากาศ หมายถึง สภาพของบรรยากาศโดยทั่วๆ ไปของท้องถิ่นต่างๆ ซึ่งเป็นผลเฉลี่ย
จากการเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศประจ าวัน หรือเป็นค่าเฉลี่ยของลักษณะลมฟ้าอากาศในระยะเวลานานๆ
2.1.10 น้ า (Water) เป็นทรัพยากรที่ดินที่มีความส าคัญต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนพื้นโลกมาก น้ าที่อยู่
ในวัฏจักรจะหมุนเวียนเปลี่ยนไปจากสภาพหนึ่งไปยังอีกสภาพหนึ่ง อยู่ตลอดเวลาโดยไม่สิ้นสุด เช่น ฝน หิมะ
ลูกเห็บ ตกลงมาสู่พื้นโลก บางส่วนระเหยกลับสู่บรรยากาศ บางส่วนไหลลงสู่ดินกลายเป็นน้ าใต้ดิน แม่น้ า
ล าธาร มหาสมุทร และระเหยกลับสู่บรรยากาศเป็นไอ จับตัวเป็นก้อนเมฆและเป็นฝนตกลงสู่พื้นโลก
หมุนเวียนกันไป น้ าต่างๆ เหล่านี้มีอิทธิพลอย่างมากในการใช้ประโยชน์ที่ดินหนึ่งๆ
2.2 ข้อมูลพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
2.2.1 ภาคเหนือ
พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคเหนือ มีจ านวน 8 ชนิดพืช ได้แก่ กล้วยไข่
ก าแพงเพชร ล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน สับปะรดนางแล สับปะรดภูแลเชียงราย ลิ้นจี่แม่ใจพะเยา สับปะรด
ห้วยมุ่น มะขามหวานเพชรบูรณ์ และข้าวก่ าล้านนา โดยมีคุณลักษณะพิเศษของพืชแต่ละชนิด ดังนี้
1) กล้วยไข่ก าแพงเพชร
มีลักษณะพิเศษด้านความหวาน เนื้อกล้วยมีสีครีมอมส้ม เนื้อแน่น เปลือกบาง ผลมีขนาด
กลางและเล็ก ปลูกในพื้นที่จังหวัดก าแพงเพชร ได้รับการขึ้นทะเบียนวันที่ 30 กันยายน 2559
2) ล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน
เป็นล าไยพันธุ์เบี้ยวเขียวป่าเส้า ปลูกบนพื้นที่ราบลุ่มน้ าปิง ที่ราบขั้นบันได และที่ราบ
หุบเขา ซึ่งมีลักษณะเป็นคันน้ าไหลทรายมูล คือ เป็นดินร่วนปนทราย ที่เกิดจากตะกอนกรวด ดิน หิน
ทราย อินทรียวัตถุที่น้ าพัดมาทับถมในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ า ท าให้ต้นล าไยเจริญเติบโตได้ดี มีคุณสมบัติเด่น
คือ ผลกลม ผิวเปลือกขรุขระ เปลือกสีน้ าตาลปนเขียว เนื้อสีขาวขุ่น แห้ง เนื้อแน่น รสชาติหวานหอม
เมล็ดสีด า ได้รับการขึ้นทะเบียนวันที่ 18 สิงหาคม 2559