Page 26 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 26

1-2





                  1.3   ขั้นตอนและวิธีกำรด ำเนินกำร

                        1.3.1  กำรรวบรวมข้อมูลทั่วไป
                        การน าเข้าและวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะด้าน น าเข้าข้อมูลเชิงอรรถาธิบายและข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย

                  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์ และโปรแกรมการค านวณต่างๆ โดย
                  ท าการศึกษาและวิเคราะห์ดังนี้
                        1)  ศึกษาและวิเคราะห์การใช้ที่ดินส าหรับพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ในสภาพปัจจุบันจากข้อมูลสภาพ
                  การใช้ที่ดินโดยการวิเคราะห์แปลความจากภาพถ่ายทางอากาศสี (Ortho Photo) และภาพถ่ายดาวเทียม
                        2) ซ้อนทับแผนที่ทรัพยากรดินของกรมพัฒนาที่ดิน ในรูปแบบของชุดดิน (กองส ารวจดินและวิจัย
                  ทรัพยากรดิน, 2561) สภาพการใช้ที่ดิน ความเหมาะสมของที่ดิน ขอบเขตป่าไม้ตามกฎหมายและมติ

                  คณะรัฐมนตรี ขอบเขตการปกครอง แผนที่เส้นชั้นน้ าฝน และแผนที่อื่นๆ โดยใช้โปรแกรมในระบบ
                  สารสนเทศภูมิศาสตร์ พร้อมทั้งจัดท าแผนที่ภาพตัดขวางของสภาพภูมิประเทศ และแผนที่ความลาดชัน
                  ในพื้นที่ที่มีการปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                        3) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทราบปัจจัยทางกายภาพที่เป็นตัวก าหนดความโดดเด่นของพืชบ่งชี้ทาง

                  ภูมิศาสตร์ชนิดต่างๆ ของประเทศไทย พร้อมจัดท าแผนที่ และรูปเล่มรายงาน
                            3.1) การวิเคราะห์เพื่อประเมินความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์กับสภาพ
                  พื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เกษตรกรเพาะปลูกในกลุ่มดินที่มีระดับความเหมาะสมที่แตกต่างกัน
                  เพื่อทราบปัจจัยทางกายภาพที่เป็นตัวก าหนดความโดดเด่นของพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ชนิดต่างๆ
                            3.2) จัดท าแผนที่ประเภทของพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และ

                  รูปเล่มรายงานโครงการศึกษาและจัดท าฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย
                        1.3.2  กำรน ำเข้ำและวิเครำะห์ข้อมูล
                            การน าเข้าและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย โดยท าการเก็บ

                  และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมส าเร็จรูปและโปรแกรมระบบสารสนเทศ
                  ภูมิศาสตร์
                            การศึกษาและจัดท าฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย มี
                  การวิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะด้านดังนี้
                            1) การประเมินความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืช GI โดยศึกษารวมกับการใช้ที่ดิน

                  และการจัดการพื้นที่
                            2) วิเคราะห์พื้นที่เป้าหมายในการผลิตให้สอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของ
                  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

                        1.3.3  จัดท ำรำยงำนและแผนที่
                            จัดท ารายงานและแผนที่พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ทั้งในรูปดิจิตอล และ
                  รูปเล่มรายงาน

                  1.4   ขอบเขตที่ด ำเนินกำร

                        1.4.1 ระยะเวลา       1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
                        1.4.2 ขอบเขตที่ศึกษา   พื้นที่ปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ 48 ชนิด ในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ของ
                  ประเทศไทยที่มีการปลูกพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์





                  โครงการศึกษาและจัดท าฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31