Page 296 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 296

3-2





                        3.1.2 กำรยื่นค ำขอกรณีมีกำรตั้งตัวแทนหรือมอบอ ำนำจ

                             1)  ได้กระท าในต่างประเทศ หนังสือตั้งตัวแทนหรือมอบอ านาจต้องมีค ารับรองลายมือชื่อผู้
                  ลงนามโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจของสถานทูตไทย หรือสถานกงสุลไทย หรือหัวหน้าส านักงานสังกัดกระทรวง
                  พาณิชย์ซึ่งประจ าอยู่ ณ ประเทศที่ผู้ตั้งตัวแทนหรือผู้มอบอ านาจมีถิ่นที่อยู่ หรือเจ้าหน้าที่ ผู้ได้รับ

                  มอบหมายให้กระท าการแทนบุคคลดังกล่าว หรือมีค ารับรองของบุคคลซึ่งกฎหมายของประเทศนั้น ให้มี
                  อ านาจรับรองลายมือชื่อ หรือ
                             2)  ได้กระท าในประเทศไทยโดยผู้ตั้งตัวแทนหรือผู้มอบอ านาจมิได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
                  ต้องส่งส าเนาหนังสือเดินทาง หรือส าเนาหนังสือรับรองถิ่นที่อยู่ชั่วคราว หรือหลักฐานอื่นที่แสดงให้นาย
                  ทะเบียนเห็นว่าในขณะตั้งตัวแทนหรือมอบอ านาจ ผู้มอบอ านาจได้เข้ามาในประเทศไทยจริง 3) ในกรณีที่ผู้

                  ยื่นค าขอหรือตัวแทนผู้รับมอบอ านาจไม่ได้เป็นผู้ยื่นค าขอด้วยตนเอง และค าขอไม่ถูกต้องหรือเอกสาร
                  หลักฐานไม่ครบถ้วน ต้องมีหนังสือมอบอ านาจเฉพาะการให้บุคคลนั้นมีอ านาจยื่นค าขอและลงนามใน
                  บันทึกความบกพร่องแทนผู้ยื่นค าขอหรือตัวแทนได้ พร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท และบัตรประจ าตัวที่

                  ทางราชการออกให้ของผู้รับมอบอ านาจเฉพาะการ เพราะหากค าขอไม่ถูกต้องหรือเอกสารหลักฐานไม่
                  ครบถ้วน และบุคคลนั้นจะไม่มีอ านาจลงนามในบันทึกดังกล่าวและเจ้าหน้าที่ไม่อาจรับค าขอไว้ได้

                  3.2  กฎหมำยที่เกี่ยวข้องในกำรผลิตสิ่งบ่งชี้ทำงภูมิศำสตร์
                           มีรายละเอียดของกฎหมายที่เกี่ยวข้องดังนี้

                             1)  กฎกระทรวงก าหนดรายชื่อประเภทสินค้าเฉพาะอย่างและก าหนดหลักเกณฑ์และ
                  วิธีการในการใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่่เหมือนหรือพ้องกัน พ.ศ. 2547
                             2)  กฎกระทรวงก าหนดอัตราค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2547
                             3)  กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียน การประกาศ

                  โฆษณา การคัดค้านและการโต้แย้งค าคัดค้านการขึ้นทะเบียน การอุทธรณ์ และการแก้ไขหรือเพิกถอน
                  ทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2547
                             4)  พระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546

                           เนื่องจากประเทศไทยมีนโยบายที่จะให้ความคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อป้องกันมิให้
                  ประชาชนสับสนหรือหลงผิดในแหล่งภูมิศาสตร์ของสินค้า โดยก าหนดให้มีการขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทาง

                  ภูมิศาสตร์ส าหรับสินค้าที่มาจากแหล่งภูมิศาสตร์และห้ามการใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์อันจะท าให้เกิด
                  ความสับสนหรือหลงผิดในแหล่งภูมิศาสตร์อันแท้จริงของสินค้าที่ระบุในทะเบียน ในขณะเดียวกัน
                  นโยบายดังกล่าวเป็นการอนุวัติการตามพันธกรณีที่ประเทศไทยมี ตามการตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สิน

                  ทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้าในภาคผนวกท้ายความตกลงมาร์ราเกซจัดตั้งองค์การการค้าโลกด้วย แต่
                  กฎหมายไทยยังไม่เพียงพอที่จะรองรับนโยบายการให้ความคุ้มครองและรองรับพันธกรณีดังกล่าวได้ จึง
                  ต้องมีการออกพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 โดยประกาศในราชกิจจา
                  นุเบกษา เล่ม 120 ตอนที่ 108ก มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนด 180 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจา

                  นุเบกษา 31 ตุลาคม 2546 เป็นต้นมา รายละเอียดของพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
                  พ.ศ. 2546 โดยสรุปได้ดังนี้
                           พระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546 ได้ก าหนดนิยามของ “สิ่งบ่งชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร์” ว่าหมายความถึง ชื่อ สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทนแหล่งภูมิศาสตร์และที่
   291   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301