Page 294 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 294

2-266





                             8) ทุเรียนในวงระนอง

                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกทุเรียนในวงระนอง มีจ านวน
                  5  แหล่งน้ า ได้แก่ ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 5 แหล่งน้ า ได้แก่ คลองปัง

                  หวาน ห้วยกะท้อน ห้วยเขาลง ห้วยน้ ารั่ว และห้วยหอย
                             9) กล้วยเล็บมือนางชุมพร
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกกล้วยเล็บมือนางชุมพร
                  มีจ านวน 354 แหล่งน้ า ได้แก่ ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 335 แหล่งน้ า เช่น

                  คลองกะแตะ คลองกะปิ คลองกะพอน คลองกะมิ้ว คลองกะแม คลองกะวะ คลองน้ าชู คลองน้ าด า คลอง
                  น้ าแดง คลองน้ าพุ คลองน้ าร้อน คลองน้ าลอดน้อย คลองน้ าใส ห้วยจระเข้ ห้วยชัน ห้วยช้างเล่น ห้วยซิว
                  ห้วยด้วน ห้วยดอนยาง ห้วยตาจิต และหินหลักง้ า เป็นต้น  หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 19 แหล่งน้ า

                  เช่น หนองก ามะเสา หนองกุด  หนองต าเสา หนองนาพรุ หนองบัว หนองผักแว่น หนองพ้อ หนองฟ้าผ่า
                  หนองยายปราง หนองเสม็ด หนองหญ้าปล้อง หนองหมอ และหนองหลุมพอ เป็นต้น
                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกกล้วยเล็บมือนางชุมพร
                  มีจ านวน 7 แหล่งน้ า ได้แก่ อ่างเก็บน้ าเขากล้วย อ่างเก็บน้ าคลองชั่ง อ่างเก็บน้ าซอย4 อ่างเก็บน้ าเทคโน

                  อ่างเก็บน้ าสหกรณ์ อ่างเก็บน้ าห้วยตาแป๊ะ และอ่างเก็บน้ าห้วยปลิง
                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน
                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 408 บ่อ
                                   - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 85 บ่อ

                             10) ข้าวเหลืองปะทิวชุมพร
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าวเหลืองปะทิวชุมพร
                  มีจ านวน 354 แหล่งน้ า ได้แก่ ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 335 แหล่งน้ า

                  เช่น  คลองกะแตะ คลองกะปิ คลองกะพอน คลองกะมิ้ว คลองกะแม คลองกะวะ คลองน้ าชู คลองน้ าด า
                  คลองน้ าแดง คลองน้ าพุ คลองน้ าร้อน คลองน้ าลอดน้อย คลองน้ าใส ห้วยจระเข้ ห้วยชัน ห้วยช้างเล่น
                  ห้วยซิว ห้วยด้วน ห้วยดอนยาง ห้วยตาจิต และหินหลักง้ า เป็นต้น หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี

                  มีจ านวน 19 แหล่งน้ า เช่น หนองก ามะเสา หนองกุด  หนองต าเสา หนองนาพรุ หนองบัว
                  หนองผักแว่น หนองพ้อ หนองฟ้าผ่า หนองยายปราง หนองเสม็ด หนองหญ้าปล้อง หนองหมอ และ
                  หนองหลุมพอ เป็นต้น
                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าวเหลืองปะทิวชุมพร
                  มีจ านวน 7 แหล่งน้ า ได้แก่ อ่างเก็บน้ าเขากล้วย อ่างเก็บน้ าคลองชั่ง อ่างเก็บน้ าซอย 4 อ่างเก็บน้ าเทคโน

                  อ่างเก็บน้ าสหกรณ์ อ่างเก็บน้ าห้วยตาแป๊ะ และอ่างเก็บน้ าห้วยปลิง
                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน
                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 408 บ่อ

                                   - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 85 บ่อ
   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298   299