Page 290 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 290

2-262





                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 9 แหล่งน้ า ได้แก่

                  แม่น้ าโขง สระค าแอ ห้วยกระทาด ห้วยกุดข้าวปุ้น ห้วยค ากิตะ ห้วยชะโนด ห้วยต้อนใหญ่ ห้วยบังกอ
                  และห้วยยาง
                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกลิ้นจี่นครพนม มีจ านวน

                  3 แหล่งน้ า ได้แก่ อ่างเก็บน้ าค าผีตบ อ่างเก็บน้ าวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม และอ่างเก็บน้ า
                  ห้วยชะโงม
                             7) ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้

                  มีจ านวน 549 แหล่งน้ า ได้แก่
                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 89 แหล่งน้ า เช่น น้ ากุดกง
                  แม่น้ าชี แม่น้ ามูล ร่องไข่นก ร่องดอนแดง ร่องน้ าแบ่ง ร่องไผ่ ร่องหินแฮ่ เริงขี้ตุ่น ล าชี ล าเตา ล าพลับพลา

                  ล าพังชู ล าเสียว ล าเสียวน้อย และล าเสียวใหญ่ เป็นต้น
                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 365 แหล่งน้ า เช่น หนองหูลิง หนองเหล็ก
                  หนองเหล่า หนองแห่ หนองแห้ว หนองใหญ่ หนองใหม่ หนองอ้อ หนองอ้อยหนู หนองอะมล หนองอะเสียม
                  หนองอะหลัน หนองอ่าง และหนองอ่างเกลือ

                                     หนอง บึง ที่มีน้ าไม่ตลอดปี มีจ านวน 95 แหล่งน้ า เช่น กุดน้อย กุดนาแซง กุดน้ าขุ่น
                  กุดน้ าค า กุดน้ าใส กุดบ่อแอก กุดบักเหลา กุดบ้าน กุดบู่ กุดเบง กุดเบน กุดปลวก กุดปอง กุดปอบ
                  กุดเปือยใหญ่ กุดแปง กุดไผท กุดพลับ กุดพลับใหญ่ และกุดพันเขียว เป็นต้น
                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้

                  มีจ านวน 23 แหล่งน้ า เช่น อ่างเก็บน้ ากุดนาแซง อ่างเก็บน้ ากุดห้าง อ่างเก็บน้ าชลประทานบ้านจาน
                  อ่างเก็บน้ าบ้านขาม อ่างเก็บน้ าบ้านธรรมษา อ่างเก็บน้ าบ้านน้ าเค็ม อ่างเก็บน้ าบ้านยางชุมใต้ อ่างเก็บน้ า
                  บ้านหนองไม้ถี่ อ่างเก็บน้ ายางอภิรมย์ อ่างเก็บน้ าร่องน้ าค า และอ่างเก็บน้ าหนองทุ่ม เป็นต้น
                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน

                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 137 บ่อ
                                   - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 58 บ่อ
                             8) ส้มโอทองดีบ้านแท่น

                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกส้มโอทองดีบ้านแท่น มีจ านวน
                  29 แหล่งน้ า ได้แก่
                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 23 แหล่งน้ า ได้แก่ น้ าพรม
                  ล าเชิญ ห้วยกอก ห้วยขมิ้น ห้วยข่า ห้วยขาม ห้วยชงแข้ ห้วยป่าไม้งาม ห้วยไผ่ ห้วยพญานาค ห้วยพรม

                  ห้วยยาง ห้วยลวก ห้วยแล้ง ห้วยวังขอน ห้วยสทอน ห้วยสองคอน ห้วยหญ้าปล้อง ห้วยหนองแซง
                  ห้วยหนองยาว ห้วยหมาตาย ห้วยหาด และห้วยเหล่า เป็นต้น
                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 5 แหล่งน้ า ได้แก่ หนองคูใหญ่ หนองนาแซง

                  หนองบักซู หนองแวงกลาง และหนองใหญ่
   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295