Page 287 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 287

2-259





                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน

                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 176 บ่อ
                                   - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 40 บ่อ

                        2.7.4  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจ านวน 8 ชนิด
                  พืช ได้แก่ ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ หอมแดงศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะ
                  เกษ สับปะรดท่าอุเทน ลิ้นจี่นครพนม ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ และส้มโอทองดีบ้านแท่น

                             1) ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟ

                  บุรีรัมย์ มีจ านวน 384 แหล่งน้ า ได้แก่
                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 146 แหล่งน้ า เช่น ล าชี
                  ล าตะโคง ล าไทรโยง ล านางรอง ล าปะเทีย ล ามาศ ห้วยชุมแสง ห้วยชุมเห็ด ห้วยโชคกราด ห้วยซับน้อย
                  ห้วยซับหวาย ห้วยซับใหญ่ ห้วยแซงแซว ห้วยดินทราย ห้วยตระมะเมียง ห้วยตลาด ห้วยตะโก ห้วยตะขาบ
                  ห้วยตาขุดตาขุน ห้วยตาเขียว ห้วยตาพรหม และห้วยตาแสง เป็นต้น

                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 238 แหล่งน้ า ได้แก่ หนองกลางดง หนองชุม
                  หนองน้ าเหมืองแร่ หนองบัว หนองโป่งเกตุ หนองไผ่ด า หนองพุซาง หนองพุหวาย หนองแฟบ หนองโรง
                  หนองลุงกีบ หนองสระหนึ่ง หนองโสน และหนองหิน

                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟ
                  บุรีรัมย์ มีจ านวน 66 แหล่งน้ า เช่น อ่างเก็บน้ าเขาโล้น อ่างเก็บน้ าคลองตาหงส์ อ่างเก็บน้ าคลองท่าล่าง
                  อ่างเก็บน้ าคลองสอง อ่างเก็บน้ าคูขาด อ่างเก็บน้ าโคกมะม่วง อ่างเก็บน้ าโคกใหญ่ อ่างเก็บน้ าเจริญสุข
                  อ่างเก็บน้ าชลประทาน อ่างเก็บน้ าซับประดู่ อ่างเก็บน้ าตะลุงเก่า อ่างเก็บน้ าตาจอกสีสะแบก

                  อ่างเก็บน้ าท่าปอแดง และอ่างเก็บน้ านิคมเขต เป็นต้น
                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน
                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 377 บ่อ
                                   - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 30 บ่อ

                             2) หอมแดงศรีสะเกษ
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษ มีจ านวน
                  297 แหล่งน้ า ได้แก่

                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 81 แหล่งน้ า เช่น
                  แม่น้ าชี แม่น้ ามูล ร่องตีกา ร่องธรรมะสา ร่องน้ าค า ร่องไผ่ ร่องเพ็ก ล าชีเฒ่า ล าเสียว ห้วยหมากแซว
                  ห้วยหล่ม ห้วยหุ่ง และห้วยใหม่ เป็นต้น

                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 183 แหล่งน้ า เช่น บึงกลาง บึงคงโคก
                  บึงโคตรโลด บึงใหญ่ หนองกงพาน หนองกระจง หนองกระดัง หนองกระดัน หนองกะเตา หนองกะโสม
                  หนองก้านเหลือง หนองกุ้ง หนองกุดหวาย หนองกู่ หนองเกลือ และหนองแก เป็นต้น
   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292