Page 286 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 286

2-258





                                   - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 98 บ่อ

                             5) สับปะรดทองระยอง
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกสับปะรดทองระยอง มีจ านวน

                  241 แหล่งน้ า ได้แก่
                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 227 แหล่งน้ า เช่น
                  แม่น้ าประแสร์ แม่น้ าพันราด แม่น้ าระยอง ล ารางนอก คลองหนองพลอง คลองหนองมน คลองหนองรี
                  คลองหนองหว้า คลองหนองอ้ายรืน คลองหมอมุ่ย ห้วยมะเฟือง ห้วยมะไฟ ห้วยยาง ห้วยเล็ก ห้วยวังกระรอก
                  และห้วยหินดาด เป็นต้น

                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 14 แหล่งน้ า ได้แก่ หนองกวาง หนองช้างตาย
                  หนองท่าสีเพ็ด (ท่ากระสาว) หนองน้ าขาว หนองน้ าดม หนองน้ ามาบกระโดน หนองบอน หนองบัว หนอง
                  ปุกปุย หนองพญา หนองรี หนองสมเด็จย่า 90 หนองแหวน และหนองใหญ่

                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกสับปะรดทองระยอง
                  มีจ านวน 15 แหล่งน้ า ได้แก่ คลองสอง คลองสาม คลองสิบแปด คลองหนึ่ง อ่างเก็บน้ าเขางวงช้าง
                  อ่างเก็บน้ าเขาจุก อ่างเก็บน้ าคลอง 18 อ่างเก็บน้ าคลองบางไผ่ อ่างเก็บน้ าดอกกราย อ่างเก็บน้ าบ้านเขา
                  หินดาด อ่างเก็บน้ าบ้านแลง อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้ าห้วยหินดาด อ่างเก็บน้ าอ าเภอ

                  วังจันทร์ และอ่างทรัพย์แก้ว
                               (2) แหล่งน้้าใต้ดิน
                                 - บ่อบาดาลเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นน้ าจืดที่มีสถานะใช้การได้ จ านวน 250 บ่อ
                                   - บ่อบาดาลเพื่อการเกษตร จ านวน 44 บ่อ

                             6) สับปะรดตราดสีทอง
                               (1) แหล่งน้้าผิวดิน
                                   - แหล่งน้้าตามธรรมชาติ ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกสับปะรดตราดสีทอง มีจ านวน
                  316 แหล่งน้ า ได้แก่

                                     ทางน้ าสายหลักและทางน้ าที่มีน้ าไหลตลอดปี มีจ านวน 273 แหล่งน้ า เช่น
                  แม่น้ าเขาสมิง แม่น้ าตราด แม่น้ าเวฬุ คลองตะกาง คลองตะเคียน คลองตะเคียนน้อย คลองตะแบก
                  คลองตะลุง คลองตาโค๊ะ คลองตาจง คลองตาบัว คลองตาบาด คลองตาปุก คลองตาโปน คลองตาหนึก

                  คลองตาหมื่น คลองตาหล า และคลองตาหลี เป็นต้น
                                     หนอง บึง ที่มีน้ าตลอดปี มีจ านวน 43 แหล่งน้ า เช่น หนองแพ หนองมาศ หนองยาง
                  หนองยายปัน หนองละวา หนองสวย หนองสองด้าน หนองสะอิด หนองอ้ายดอก หนองอีล้ม หนองอู่ตะเภา
                  และหนองแอ่ง เป็นต้น
                                   - แหล่งน้้าที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ปลูกสับปะรดตราดสีทอง

                  มีจ านวน 30 แหล่งน้ า เช่น คลองสอง คลองสาม คลองสี่ คลองหนึ่ง คลองห้า อ่างเก็บน้ าเขาระก า
                  อ่างเก็บน้ าเขาวงษ์ อ่างเก็บน้ าคลองปะเดา อ่างเก็บน้ าคลองปุก อ่างเก็บน้ าคลองละผา อ่างเก็บน้ าคลอง
                  วังหก อ่างเก็บน้ าชลประทาน อ่างเก็บน้ าเทพนิมิตร อ่างเก็บน้ าบ้านเกาะลอย อ่างเก็บน้ าบ้านบางปรง

                  และอ่างเก็บน้ าบ้านวังตัก เป็นต้น
   281   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291