Page 16 - รายงานการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
P. 16

1-4





                             3) ประชากรและกลุมตัวอยาง

                                3.1) ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ เกษตรกรที่เขารวมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุมเกษตร
                  ทฤษฎีใหม ป 2564 ในพื้นที่สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12 จำนวน 27,923 คน
                                3.2) กลุมตัวอยาง คือ การกำหนดขนาดของกลุมตัวอยางจากประชากรที่ใชใน

                  การศึกษาภาวะเศรษฐกิจและสังคม คุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกร คำนวณจากสูตรของ Taro
                  Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (ภาคผนวก ก) มีขนาดกลุมตัวอยางจำนวน 394 ตัวอยาง
                  ซึ่งสามารถสำรวจไดจำนวน 420 ตัวอยาง โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบใชความนาจะเปน (Probability
                  sampling) ดวยการสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster sampling) ตามสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12

                  จำนวน สพข. ละ 35 ตัวอยาง สำหรับการศึกษาภาวะการผลิต ใชวิธีควบคุมตัวแปร โดยคัดเลือก
                  เกษตรกรที่ทำการผลิตและไดรับผลผลิตแลวในป 2564 จากกลุมตัวอยาง
                             4) การวิเคราะหขอมูล
                                เจาหนาที่ตรวจสอบและสังเคราะหขอมูลในแบบสอบถาม เพื่อแกไขขอผิดพลาด แลวนำมา

                  ประมวลผลในสำนักงาน โดยใชโปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Excel จากนั้นจึงวิเคราะหขอมูลโดยใช
                  วิธีการวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) แสดงผลเปนคารอยละ (percentage) คาเฉลี่ย
                  (Mean) อัตราสวน (Ratio) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ไดแก การวิเคราะหภาวะ
                  เศรษฐกิจและสังคม ภาวะการผลิต คุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ดังนี้

                                4.1) การวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจและสังคม โดยใชคาเฉลี่ย และคารอยละ ไดแก ขอมูล
                  ทั่วไปของเกษตรกร การถือครองที่ดินและหนังสือสำคัญในที่ดิน สถานภาพทางการเงินของครัวเรือนเกษตร
                  สถานภาพดานแรงงานของครัวเรือนเกษตร การรับรูขอมูลขาวสารของโครงการ
                                4.2) การวิเคราะหภาวะการผลิต ไดแก

                                    (1) สภาพพื้นที่ ขนาดพื้นที่ ลักษณะสระเก็บน้ำ สภาพการผลิตและการกระจาย
                  ผลผลิต โดยใชคาเฉลี่ย และคารอยละ
                                    (2) ตนทุนและผลตอบแทนการผลิต ประกอบดวย ตนทุนการผลิต รายไดหรือ
                  มูลคาผลผลิต ผลตอบแทนการผลิต โดยมีวิธีการคำนวณ ดังนี้

                                       ตนทุนการผลิตทั้งหมด = ตนทุนผันแปร + ตนทุนคงที่
                                       รายไดหรือมูลคาผลผลิตทั้งหมด = ปริมาณผลผลิต X ราคาผลผลิต
                                       ผลตอบแทนการผลิตเหนือตนทุนเงินสด = ผลตางระหวางรายไดหรือมูลคาผลผลิต

                                                                        ที่ไดทั้งหมดกับตนทุนที่เปนเงินสดทั้งหมด
                                    (3) การวิเคราะหผลตอบแทนทางการเงิน เพื่อใชในการตัดสินใจในการลงทุนวา
                  ควรจะลงทุนในการผลิตหรือไม ไดแก อัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (Benefit-cost Ratio: B/C
                  Ratio) หมายถึง อัตราสวนเปรียบเทียบมูลคาปจจุบันเฉลี่ยตอไรของผลตอบแทนกับตนทุนทั้งหมดตลอด
                  ชวงปที่ทำการผลิต โดยเกณฑที่ใชในการตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการใด ๆ คือ B/C Ratio ที่มี

                  คามากกวาหรือเทากับ 1 ถา B/C Ratio มากกวา 1 หมายความวา ผลตอบแทนที่ไดรับจากการผลิต
                  มากกวาคาใชจายหรือตนทุนที่เสียไป หรือถา B/C Ratio เทากับ 1 หมายความวา ผลตอบแทนที่ไดรับ
                  จากการผลิตเทากับคาใชจายหรือตนทุนที่เสียไปพอดี (กฤช, 2557)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21