Page 12 - รายงานการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
P. 12

(7)





                  จากความผันผวนของราคาสินคาเกษตรได และชวยลดรายจายในครัวเรือนดวยการบริโภคผลผลิตจาก

                  แปลงเกษตรผสมผสาน
                             ดานคุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกร พบวา (1) เกษตรกรที่เขารวมโครงการ
                  มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.26 ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานสิ่งแวดลอม คาเฉลี่ย 3.49

                  ซึ่งเกษตรกรมีความพึงพอใจตอโครงการอยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.55 (2) เกษตรกรสวนใหญ
                  มีการแนะนำและเผยแพรโครงการรอยละ 88.57 และไมแนะนำรอยละ 11.43 เหตุผลสวนใหญ
                  ที่ไมแนะนำ คือ ตองการทดลองใหเกิดผลสำเร็จกับพื้นที่ของตนเองเสียกอนรอยละ 56.25 (3) ปญหา
                  อุปสรรค และขอเสนอแนะโครงการ เกษตรกรมีปญหาและอุปสรรคในการเขารวมโครงการรอยละ 42.62

                  ลักษณะปญหาและอุปสรรคสวนใหญที่พบ คือ ดินมีธาตุอาหารนอยขาดความอุดมสมบูรณรอยละ 43.58
                  และ (4) ขอเสนอแนะในการพัฒนาโครงการของเกษตรกร สวนใหญใหขอเสนอแนะวา ควรจัดสรร
                  งบประมาณสนับสนุนปจจัยการผลิตใหเพียงพอรอยละ 61.01
                             ขอเสนอแนะ หนวยงานภาครัฐควรแนะนำ สงเสริม สนับสนุน และใหความรูเพิ่มเติมแก

                  เกษตรกรในการปรับปรุงบำรุงดิน การใชปจจัยการผลิตที่เหมาะสม และเทคนิควิธีการที่เหมาะสมกับการทำ
                  เกษตรผสมผสาน รวมถึงการจัดหาชองทางการจำหนายผลผลิต การรวมกลุมของเกษตรกร และการเขาถึง
                  แหลงเงินทุนเพื่อใหการดำเนินงานของโครงการมีความตอเนื่องและยั่งยืน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17