Page 11 - รายงานการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
P. 11

บทสรุปผูบริหาร



                             รายงานการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุมเกษตรทฤษฎีใหม
                  มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุมเกษตรทฤษฎีใหม
                  และวิเคราะหรายไดกอนและหลังเขารวมโครงการเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม

                  และคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ซึ่งไดรวบรวมขอมูลจากเกษตรกรที่เขารวมโครงการในพื้นที่สำนักงาน
                  พัฒนาที่ดินเขต 1-12 จำนวน 420 ราย โดยทำการวิเคราะหขอมูล 3 ดาน คือ ดานภาวะเศรษฐกิจและสังคม
                  ดานภาวะการผลิต ดานคุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกร มีรายละเอียด ดังนี้
                             ดานภาวะเศรษฐกิจและสังคม พบวา เกษตรกรเปนเพศชายรอยละ 53.57 และเพศหญิง

                  รอยละ 46.43 มีอายุเฉลี่ย 52 ป สวนใหญจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตร
                  วิชาชีพ มีสถานภาพทางสังคมเปนเกษตรกรทั่วไป พื้นที่เขารวมโครงการเฉลี่ย 3.75 ไรตอครัวเรือน
                  เอกสารสิทธิ์เปนโฉนดที่ดินมากที่สุดรอยละ 72.09 ของพื้นที่ที่เขารวมโครงการทั้งหมด สถานภาพดานการเงิน
                  มีรายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน 204,024.28 บาทตอป (รายไดในภาคการเกษตรรอยละ 56.82 และนอกภาค

                  การเกษตรรอยละ 43.18) มีรายจายเฉลี่ยตอครัวเรือน 140,294.29 บาทตอป หรือรอยละ 68.76
                  ของรายไดทั้งหมด ภาวะหนี้สินมีการกูยืมเงินรอยละ 62.14 ของครัวเรือนทั้งหมด อัตราดอกเบี้ยเงินกูเฉลี่ย
                  รอยละ 6.69 ตอป สำหรับสถานภาพดานแรงงาน ครัวเรือนเกษตรมีสมาชิกในครัวเรือนและแรงงานในภาค
                  การเกษตรเพิ่มขึ้น เนื่องจากหลังเขารวมโครงการมีกิจกรรมในการผลิตทางการเกษตรมากขึ้นจากเกษตร

                  เชิงเดี่ยวเปนเกษตรผสมผสาน โดยสมาชิกในครัวเรือนเพิ่มขึ้นจาก 3.65 คนตอครัวเรือน เปน 3.73
                  คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 2.19 และมีแรงงานในภาคการเกษตรเพิ่มขึ้นจาก 2.12 คนตอครัวเรือน เปน 2.24
                  คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 5.66 โดยเปนแรงงานคืนถิ่นเฉลี่ย 1.36 คนตอครัวเรือน หรือรอยละ 3.61

                  ของแรงงานภาคการเกษตรในครัวเรือน
                             ดานภาวะการผลิต พบวา พื้นที่เขารวมโครงการเปนที่ลุมรอยละ 50.95 และเปนที่ดอน
                  รอยละ 49.05 รูปแบบสระเก็บน้ำสวนใหญเปนแบบสี่เหลี่ยมผืนผารอยละ 81.19 และเกษตรกรสวนใหญ
                  รอยละ 79.29 มีปริมาณน้ำในสระเพียงพอตอการผลิตตลอดทั้งป สวนการใชประโยชนที่ดินนั้น กอนเขารวม
                  โครงการเกษตรกรทั้งหมดใชประโยชนที่ดินเพื่อปลูกขาวนาปเพียงอยางเดียว หลังเขารวมโครงการ

                  เกษตรกรไดปรับเปลี่ยนการผลิตเปนเกษตรผสมผสาน สงผลใหมีตนทุนการผลิตสูงจากเดิม 2,278.71
                  บาทตอไร เปน 4,084.37 บาทตอไร หรือเพิ่มขึ้น 1,805.66 บาทตอไร แตก็ทำใหมูลคาผลผลิต
                  และผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย เพิ่มขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน ดังนี้ มูลคาผลผลิตกอนเขารวมโครงการ 5,299.54

                  บาทตอไร หลังเขารวมโครงการ 11,125.83 บาทตอไร เพิ่มขึ้น 5,826.29 บาทตอไร ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย
                  กอนเขารวมโครงการ 3,020.83 บาทตอไร หลังรวมโครงการ 7,041.46 บาทตอไร เพิ่มขึ้น 4,020.63
                  บาทตอไร โดยอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) จาก 2.33 เพิ่มขึ้นเปน 2.72 ทำใหมีความ
                  คุมคาทางการเงินมากขึ้น

                             ทั้งนี้ เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนการผลิตจากเกษตรเชิงเดี่ยวเปนเกษตรผสมผสานได
                  เนื่องจากมีสระเก็บน้ำที่สามารถใชในการผลิตทางการเกษตรไดตลอดทั้งป ถึงแมวาการทำเกษตร
                  ผสมผสานทำใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น แตก็ทำใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้นดวยเชนกัน จากการผลิตสินคา
                  เกษตรที่มีความหลากหลาย ทำใหมีทางเลือกในการจำหนายผลผลิตมากขึ้นตลอดทั้งป ลดความเสี่ยง
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16