Page 15 - รายงานการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
P. 15

1-3








                  1.5  สถานที่ดำเนินงาน
                             สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12

                  1.6  อุปกรณที่ใชในการดำเนินงาน

                             1) แบบสอบถามเกษตรกรที่เขารวมโครงการ 1 ตำบล 1 กลุมเกษตรทฤษฎีใหม
                             2) แผนที่แสดงระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดิน
                             3) โทรศัพทมือถือรองรับระบบปฏิบัติการ (Smart phone)

                             4) ระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map Mobile)
                             5) เครื่องคำนวณระบบกำหนดตำแหนงบนพื้นโลก (Global Positioning System: GPS)

                  1.7   กรอบแนวคิดในการศึกษา

                           สภาพพื้นฐานทั่วไปของ
                           เกษตรกร
                                                                     1. ระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรหลังเขารวม
                           ความพึงพอใจ ความคิดเห็น                   โครงการ
                           ดานคุณภาพชีวิตและปญหา                   2. การเปลี่ยนแปลงผลผลิต และรายไดของ
                           อุปสรรค                                   เกษตรกรหลังเขารวมโครงการฯ



                           ปริมาณผลผลิต ตนทุนและ
                           ผลตอบแทนการผลิตของ

                           เกษตรกร กอนและหลังเขารวม                   เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และ
                           โครงการ                                       ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น


                  1.8   วิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน

                             1) ศึกษาขอมูลและจัดทำเครื่องมือ
                                ศึกษาขอมูล และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ เชน แผนที่และเครื่องคำนวณระบบกำหนด
                  ตำแหนงบนพื้นโลก (Global Positioning System: GPS) จัดทำแผนและวางแผนการปฏิบัติงาน รวมทั้ง
                  ประสานขอความรวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของ พรอมทั้งจัดทำเครื่องมือโดยสรางแบบสอบถาม ตาราง
                  ประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดานภาวะเศรษฐกิจและสังคม ภาวะการผลิต คุณภาพชีวิตและทัศนคติ

                  ของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ
                             2) การเก็บรวบรวมขอมูล
                                2.1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ขอมูลที่เก็บรวบรวมดวยวิธีการสัมภาษณ

                  เกษตรกร โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaires)
                                2.2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ขอมูลตาง ๆ ที่ทำการเก็บรวบรวมจาก
                  เอกสารวิชาการ ผลงานวิจัยรายงาน บทความ และระบบสืบคนทางอินเตอรเน็ต เพื่อนำขอมูลดังกลาว
                  มาอางอิงและประกอบการศึกษา
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20