Page 17 - รายงานการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
P. 17

1-5





                                4.3) การวิเคราะหคุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ ไดแก

                                    (1) วิเคราะหคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่เขารวมโครงการฯ โดยใชแนวคิดตาม
                  ทฤษฎีคุณภาพชีวิตของ Ferranc and Power (1992) มาประยุกตใชเพื่อกำหนดรูปแบบการประเมิน
                  คุณภาพชีวิตของเกษตรกร จำนวน 5 ดาน ไดแก ดานสุขภาพ ดานสังคมเศรษฐกิจ ดานจิตวิญญาณ

                  ดานครอบครัว และดานสิ่งแวดลอม แบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ซึ่งมีตัวเลือก 4 ระดับ
                  วิเคราะหโดยใชสถิติพื้นฐาน คารอยละ (percentage) คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                  (Standard Deviation: S.D) โดยกำหนดเกณฑในการพิจารณา ดังนี้ (ศุภรทิพย นิลารักษ, 2557)
                                       มากที่สุด      ใหคะแนน 4 คะแนน

                                       มาก            ใหคะแนน 3 คะแนน
                                       นอย           ใหคะแนน 2 คะแนน
                                       นอยที่สุด     ใหคะแนน 1 คะแนน

                                       การพิจารณาคาระดับคะแนนความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
                  โดยกำหนดชวงคะแนนคาเฉลี่ยในการแปลความหมายขอมูลเชิงปริมาณ ดังนี้
                                       คาเฉลี่ย      ความหมาย
                                       3.26 - 4.00    มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับมากที่สุด
                                       2.51 - 3.25    มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับมาก

                                       1.76 - 2.50    มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับนอย
                                       1.00 - 1.75    มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับนอยที่สุด
                                    (2) วิเคราะหความพึงพอใจของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ แบบมาตราสวน

                  ประมาณคา (Rating Scale) ซึ่งมีตัวเลือก 4 ระดับ วิเคราะหโดยใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ (percentage)
                  คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D) โดยกำหนดเกณฑในการพิจารณา
                  ดังนี้ (กัญญพัสวี กลอมธงเจริญ, 2560)
                                       มากที่สุด      ใหคะแนน 4 คะแนน

                                       มาก            ใหคะแนน 3 คะแนน
                                       นอย           ใหคะแนน 2 คะแนน
                                       นอยที่สุด     ใหคะแนน 1 คะแนน
                                       การพิจารณาคาระดับคะแนนความพึงพอใจ โดยกำหนดชวงคะแนนคาเฉลี่ย

                  ในการแปลความหมายขอมูลเชิงปริมาณ ดังนี้
                                       คาเฉลี่ย      ความหมาย
                                       3.26 - 4.00    ระดับพึงพอใจมากที่สุด
                                       2.51 - 3.25    ระดับพึงพอใจมาก

                                       1.76 - 2.50    ระดับพึงพอใจนอย
                                       1.00 - 1.75    ระดับพึงพอใจนอยที่สุด
                                    (3) การแนะนำและเผยแพรโครงการ ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะโครงการ

                  โดยใชคาเฉลี่ย และคารอยละ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22