Page 38 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 38

2-24





                          - หนวยที่ดินที่ 60 ไดแก AC-mw,col-slA : ดินตะกอนน้ำพาเชิงซอนที่มีการระบายน้ำ

                  ดีปานกลาง เปนดินรวนหยาบ ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบ มีเนื้อที่ 990 ไร หรือรอยละ 0.04 ของพื้นที่ศึกษา
                        (11) กลุมดินนี้ประกอบดวยพื้นที่ภูเขา และเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกวารอยละ 35

                  ลักษณะและสมบัติของดินที่พบไมแนนอนมีทั้งดินลึก และดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ 
                                                                                                  ้
                                                                             ั
                  ตามธรรมชาติแตกตางกันไปแลวแตชนิดของหินตนกำเนิดในบริเวณนั้นมกมีเศษหิน กอนหินหรือพืนโผล
                  กระจัดกระจายทั่วไป สวนใหญยังปกคลุมดวยปาไมประเภทตาง ๆ เชน ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรังหรือปา
                  ดงดิบชื้น หลายแหงมีการทำไรเลื่อนลอยโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษดินและน้ำซึ่งเปนผลทำให

                  เกิดการชะลางพังทลายของหนาดินจนบางแหงเหลือแตหินโผล กลุมดินนีไมควรนำมาใชประโยชนทาง
                                                                               ้
                  การเกษตร เนื่องจากมีปญหาหลายประการที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศ ควรสงวนไวเปนปาตามธรรมชาต ิ
                    ื่
                  เพอเปนแหลงตนน้ำ ลำธารตอไป มีเนื้อที่ 2,231,773 ไร หรือรอยละ 84.11 ของพื้นที่ศึกษา
                      3) หนวยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้

                        (1) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (U) มีเนื้อที่ 16,860 ไร หรือรอยละ 0.63 ของพื้นที่ศึกษา
                        (2) พื้นที่น้ำ (W) มีเนื้อที่ 46,028 ไร หรือรอยละ 1.74 ของพื้นที่ศึกษา
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43