Page 41 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 41

2-27





                                                                        
                  ราบเรียบไปจนถึงเนินเขา มักจะมีลูกรังหรือหินกรวดมนปะปนอยูมากตั้งแตบริเวณผิวดินลงไป บางแหง
                  มีกอนลูกรังหรือศิลาแลงโผลกระจัดกระจายทั่วไปบริเวณผิวหนาดิน เนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว
                                                                       ิ
                                                                                          ิ
                                                               ิ
                            ิ
                                                  ้
                                                     ิ
                  ปนกรวด ดนรวนปนทรายปนกรวด เนือดนลางเปนดนรวนปนดนเหนียวปนกรวดมาก ดนรวนเหนียวปน
                  ทรายปนกรวดมาก ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง
                                                                     ี
                               1.2 ดินตื้นในพนทดอนถึงชั้นหินพ้น มีเนื้อท่ 12,279 ไร หรือรอยละ 0.46 ของพนท ี่
                                                                                                    ื้
                                             ื้
                                                             ื
                                                ี่
                  ศึกษา เปนดินตื้นที่มีการระบายน้ำดี พบกอนกรวดหรือเศษหินปะปนในปริมาณที่มากกวา รอยละ 35 โดย
                  ปริมาตร หรือพบชั้นหินพื้น ชั้นดานแข็ง หรือชั้นเชื่อมแข็งภายใน 50 ซม. จากผิวดิน เนื้อดินบนเปนดิน
                                                                                          ึ
                  รวนปนดนเหนียว ดินรวนปนดินเหนียวปนกรวด เนื้อดินลางเปนดินเหนียวปนกรวดมากถงชั้นหินพืนดนม ี
                                                                                                  ้
                                                                                                    ิ
                         ิ
                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง
                                แนวทางในการจัดการ
                                 1) เลือกพื้นที่ทำการเกษตรที่มีหนาดิน ไมนอยกวา 25 เซนติเมตรและไมมีกอนกรวด
                                               ิ
                                          
                  หรือลูกรังกระจัดกระจายอยูที่ผิวดนมากนัก สวนพื้นที่ทีเปนดินตื้นมาก และมีเศษชิ้นสวนกอนกรวดหิน
                                                                ่
                  เนื้อหยาบปะปนอยูหนาผิวดินจำนวนมากไมเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรใชปลูกไมยืนตน
                                                                                                  
                  โตเร็ว
                                 2) เลือกชนิดพืชปลูกและมีการจัดการที่เหมาะสม หากเปนพืชไรควรเลือกพืชที่ม ี
                  ระบบรากตื้น พืชทนแลงหรือปลูกพืชแบบผสมผสาน สำหรับการปลูกไมผล ไมยืนตน ควรมีการจัดการ
                  เฉพาะหลุม ขุดหลุมปลูกใหกวางกวาดินธรรมดา รองกนหลุมดวยดินจากที่อื่นผสมกับปุยคอกหรือปุยหมก
                                                                                                     ั
                                 3) มีการเขตกรรมที่เหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุดเพื่อปองกันการชะลาง
                  พังทลายของดิน
                                 4) เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก

                                                    ิ
                                                 ื
                  หรือปลูกพืชตระกูลถ่วแลวไถกลบเพ่อเพ่มความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและน้ำใหแกดนและ
                                                                                                  ิ
                                    ั
                  ใชปุยเคมีรวมดวยตามความเหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก
                                 5) การจัดการน้ำที่เหมาะสมจัดหาแหลงน้ำใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมีการใหน้ำ
                  อยางมีประสิทธิภาพ เชน ใหน้ำโดยใชระบบน้ำหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ำ
                  และเก็บรักษาความชื้นในดิน
                                 6) พื้นที่ที่มีความลาดชันควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ ไถพรวน และปลูกพืช
                  ตามแนวระดับขวางความลาดเทของพ้นท่ ปลูกพืชคลุมดิน โดยปลูกสลับกับแถวพืชหลักท่ปลูกไวเพอ
                                                     ี
                                                                                                      ่
                                                                                                      ื
                                                                                              ี
                                                  ื
                  ลดการชะลางพังทลายของดินหรือปลูกหญาแฝก เปนตน
                                 7) ดินตื้นที่มีปฏิกิริยาดินเปนดาง การปลูกพืชในดินประเภทนี้ อาจมีปญหาการขาด
                  ธาตุอาหารบางชนิด เชน ฟอสฟอรัส เหล็ก และแมงกานีส ดังนั้น การปลูกพืชในดินดังกลาว จึงควรเลือก
                  ชนิดพืชที่เหมาะสมพืชที่ชอบสภาพดินกรด เชน ขาวโพด ถั่วลิสง ไมผลบางชนิด เชน ขนุน นอยหนา
                  และมะพราว เปนตน

                             3. พื้นที่ลาดชันเชิงซอน มีเนื้อที่ 2,231,732 ไร หรือรอยละ 84.11 ของพื้นที่ศึกษา ซึ่งพื้นท ี ่
                  บริเวณนี้ไมเหมาะสมตอการเกษตรกรรม เนื่องจากยากตอการจัดการและเกิดการชะลางพังทลายของ
                  หนาดินไดงาย ถาใชมาตรการพิเศษในการอนุรักษดินและน้ำ จะตองใชคาใชจายสูงและยังเปนการ

                  ทำลายระบบนิเวศของปาอีกดวย ดังนั้น ควรรักษาไวใหเปนปาธรรมชาติเพื่อเปนที่อยูอาศัยและเปน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46