Page 42 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 42

2-28





                  แหลงเพาะพันธุของสัตวปา รวมถึงเปนแหลงตนน้ำลำธาร ถามีความจำเปนตองนำมาใชประโยชนทาง

                                             ่
                                               ี
                                          ้
                                                                                               
                                                ั
                                              ี
                                              ่
                                          ื
                                             ี
                                                                                  ี
                                                                         ิ
                                                                  
                  การเกษตรควรมีการเลือกใชพนททมศกยภาพในการเกษตรตองเปนดนลึก และมความลาดชันไมสูงมากนัก
                  โดยตองทำการเกษตรแบบวนเกษตรและมีระบบอนุรักษดินและน้ำ ที่ถูกตองตามหลักวิชาการ
                  ขอเสนอแนะการใชพื้นที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต
                              แนวทางในการจัดการ
                                1) ในกรณีที่เปนดินลึก ควรทำเปนคันดินแบบขั้นบันไดตอเนื่องสำหรับปลูกพช
                                                                                                      ื
                  ลมลุกที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจสูง หรือถามีการปลูกไมยืนตน ควรปลูกพืชคลุมดินรวมดวย
                                2) ในกรณที่เปนดินลึกหรือลึกปานกลาง ควรปลูกไมยืนตนขวางความลาดเท
                                            ี
                  รวมกับหญาแฝกและปลูกพืชคลุมดินระหวางตนพืชควรทำคันคูรอบเขาและคูเบนน้ำเพ่อระบายน้ำ
                                                                                             ื
                  ในกรณีที่ปลูกไมยืนตนและตองการปลูกพืชแซมระหวางแถวกอนไมยืนตน สามารถปลูกพืชไรระหวาง
                  แถวไมยืนตน ไดในระยะแรก เชน ถั่วเหลืองถั่วเขียว เพื่อปรับปรุงบำรุงดินและชวยคลุมดิน เนื่องจาก
                  พื้นที่มีความลาดชันสูงทำใหเกิดการสูญเสียหนาดินไดงาย
                                3) ในกรณีที่เปนดินตื้นไมควรปลูกพืชไรหรือพืชลมลุก ควรปลูกไมยืนตนขวาง
                  ความลาดเทของพื้นที่และปลูกพืชคลุมดินระหวางตนพืช และควรทำคันคูรอบเขาเพื่อระบายน้ำ
                  ในกรณีที่ปลูกไมยืนตนและตองการปลูกพืชแซมระหวางแถวกอนไมยืนตนโตนั้นไมควรมีการไถพรวน
                  เนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันสูงทำใหเกิดการสูญเสียหนาดินไดงาย

                                                         ี่
                                                          ึ
                                                                                              
                  ตารางที่ 2-4 สถานภาพทรัพยากรดินในเขตพื้นทศกษาพื้นที่ชุมน้ำนานาชาตอทยานแหงชาตแกงกระจาน
                                                                                           ิ
                                                                              ิ
                                                                                ุ
                                    สถานภาพทรัพยากรดิน                        เนื้อที่ (ไร)    รอยละ
                   1. ดินกรด                                                    108,893         4.11
                   1.1 ดินกรดในพนที่ดอน                                         108,893         4.11
                                ื้
                   2. ดินตื้น                                                   202,286         7.62
                   2.1 ดินตื้นในพื้นทดอนถึงชั้นลูกรัง กอนกรวด หรือเศษหิน       190,007         7.16
                                  ี่
                   2.2 ดินตื้นในพื้นทดอนถึงชั้นหินพื้น                           12,279         0.46
                                  ี่
                   3. พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC)                              2,231,732        84.11

                   4. ดินที่ไมมปญหา                                            47,521         1.79
                             ี
                                          ี่
                             
                   4.1 ดินที่ไมมีปญหาในพื้นทลุม                                10,446         0.39
                             
                                          ี่
                   4.2 ดินที่ไมมีปญหาในพื้นทดอน                                 37,075         1.40
                   5. พื้นที่ชมชนและสงปลูกสราง                                  16,860         0.63
                           ุ
                                    ิ่
                   6. พื้นที่น้ำ                                                 46,028         1.74
                                               ้
                                          รวมเนือท  ี ่                       2,653,320       100.00
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47