Page 40 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 40

2-26





                        2.6.2 สถานภาพทรัพยากรดิน
                            จากการวิเคราะหสถานภาพทรัพยากรดินรวมกับลักษณะและสมบัติของดินที่มีผลตอ

                  การใชประโยชนทางการเกษตรในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำนานาชาตอุทยานแหงชาติแกงกระจาน พบ
                                                                           ิ
                  สถานภาพทรัพยากรดินที่มีปญหาตอการทำการเกษตรดังนี้ (ตารางที่ 2-4 และรูปที่ 2-9)

                            1. ดินกรด มีเนื้อที่ 108,893 ไร หรือรอยละ 4.11 ของพื้นที่ศึกษา เปนดินในที่ดอน พบใน
                  สภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน การระบายน้ำดีปานกลางถึงด ดินลึก
                                                                                                 ี
                  ปานกลางถึงลึกมาก เนื้อดินบนเปนดนรวนปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกลาง เนื้อดินลาง
                                                ิ
                                           ิ
                       ิ
                                                                                               ิ
                                                                                          ิ
                                                         ิ
                  เปนดนรวนเหนียวปนทราย ดนรวนปนทราย ดนรวนเหนียวปนทรายปนกรวดมาก ปฏิกริยาดนเปนกรด
                  จัดมากถึงเปนกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                              แนวทางในการจัดการดินที่เปนกรด ควรจะใชหลายมาตรการประกอบกัน คือ
                                1) ลดการใชปุยเคมีทมากเกินความตองการของพืช โดยเฉพาะปุยไนโตรเจน (ยูเรีย)
                                                    ี่
                                2) ในกรณีที่มีน้ำเพียงพอ ควรระบายน้ำที่มีความเปนกรดสูงออกจากแปลง
                  แลวขังน้ำใหมที่มีสภาพความเปนกรดนอยกวาแทน
                             
                                3) การปรับระดับผิวหนาดินใหมีความลาดเอียงพอที่จะใหน้ำไหลออกสูคลอง
                  ระบายน้ำได และจัดรูปตกแตงแปลงนาและคันนาใหม เพื่อใหสามารถเก็บกักน้ำและระบายน้ำออกได 
                  ตามตองการ

                                4)  การยกรองปลูกพืช เปนวิธีการใชสำหรับการปลูกพืชไร ผัก ผลไม หรือไมยืนตนที ่
                                        ิ
                  ใหผลตอบแทนทางเศรษฐกจสูง
                                5) ปรับปรุงบำรุงดินใหอุดมสมบูรณทำไดหลายวิธีดังนี้ เชน การใชปุยคอก
                                                                                              ี่
                  การใชปุยหมัก การใชปุยพืชสด สวนใหญจะใชพืชตระกูลถั่ว เพราะใหธาตุไนโตรเจนสูง พืชทนิยมใชเปน
                                                                                                       
                  ปุยพืชสด ไดแก โสนอัฟริกัน โสนอินเดีย ปอเทือง ถั่วเขียว ถั่วพรา ถั่วพุม ถั่วมะแฮะ กระถินยักษ
                  และแหนแดง เปนตน
                                                                                                     ั
                                6) ปลูกพืชหมุนเวียน โดยปลูกพืชหลายชนิดหมุนเวียนในพื้นที่เดียวกน
                  ควรมีพืชตระกูลถั่ว ซึ่งมีคุณสมบัติบำรุงดินรวมอยูดวยเพื่อใหการใชธาตุอาหารจากดินเปนไปอยางม ี

                  ประสิทธิภาพ ลดการระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนชวยใหชั้นดินมีเวลาพักตัวในกรณีพืชที่ปลูกมีระบบ
                  รากลึกแตกตางกัน
                             2. ดินตื้น มีเนื้อที่ 202,286 ไร หรือรอยละ 7.62 ของพื้นที่ศึกษา เกิดมาจากวัตถตนกำเนิดดน
                                                                                                      ิ
                                                                                             ุ
                  เชน หินดินดานเชิงเขา หรือเศษหินเชิงเขา ที่สวนใหญเปนพวกหินตะกอนเนื้อหยาบ คือ หินทราย หินกรวดมน
                                                                                                      ิ
                  แตกกระจัดกระจายรวงหลนออกมาทับถมเกะกะอยูบริเวณเชิงเขา หรือเปนผลจากกระบวนการทางดน
                                                                                                      ้
                                                                          
                                                                                                  
                  ที่ทำใหเกิดการสะสมปูนมารลหรือศลาแลงในดิน เปนดินที่มีลูกรัง กอนกรวดหรือเศษหินปะปนอยูในเนือ
                                               ิ
                  ดินมาก ความหนาของชั้นดินบนนอยกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ทำใหเปนอุปสรรคตอการชอนไชของ
                  รากพืชและการไถพรวน มเนื้อดินเหนียวนอย ทำใหการเกาะยึดตัวของเม็ดดินไมดีเกิดการชะลาง
                                         ี
                  พังทลายไดงาย โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณต่ำ ความสามารถในการดูดซับน้ำและธาตุอาหารตำ
                                                                                                      ่
                  ประเภทของดินตื้นที่พบในพื้นที่ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำนานาขาติอทยานแหงชาติแกงกระจาน ไดแก
                                                                   ุ
                               1.1 ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นลูกรัง กอนกรวด หรือเศษหิน มีเนื้อที่ 190,007 ไร
                                                                                                 
                  หรือรอยละ 7.16 ของพนทศกษา เปนดินต้น มีการระบายน้ำด พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขาง
                                           ึ
                                         ่
                                                                       ี
                                                       ื
                                      ้
                                      ื
                                         ี
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45