Page 34 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 34

2-20





                  ชุดดินปราณบุรี ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อท  ่ ี

                                                ี
                                                ่
                  5,422 ไร หรือรอยละ 0.20 ของพื้นทศึกษา TK-fl-clB/d3c : ดินคลายชุดดินตาคลี ที่เปนดินรวนละเอียด
                                                            ่
                                                    
                                                            ี
                  มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว เจอกอนกรวดทความลึก 50-100 ซม. สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด
                                                                 ี
                                                                 ่
                  เล็กนอย มีเนื้อที่ 1,341 ไร หรือรอยละ 0.05 ของพื้นทศึกษา TK-fl-clB/d4c : ดินคลายชุดดินตาคลี
                  ที่เปนดินรวนละเอียด มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว เจอกอนกรวดที่ความลึก 100-150 ซม.
                  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 1,256 ไร หรือรอยละ 0.05 ของพื้นทศึกษา
                                                                                         ี่
                          - หนวยที่ดินที่ 36BI ไดแก Pr-slBI : ชุดดินปราณบุรี ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย
                  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 1,810 ไร หรือรอยละ 0.07
                  ของพื้นทศกษา
                           ึ
                         ี่
                        (4) เปนกลุมดินที่มีวัตถุตนกำเนิดดินเปนพวกตะกอนลำน้ำ ที่มีลักษณะการทับถมเปนชั้น ๆ
                  ของตะกอนลำน้ำในแตละชวงเวลา พบบนสันดินริมน้ำ หรือที่ราบตะกอนน้ำพา บริเวณพื้นที่ดอน ที่ม ี
                  สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ เปนกลุมดินลึก มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวน

                  หรือดินรวนปนทรายละเอียด สีดินเปนสีน้ำตาลออน อาจพบจุดประสีเทาและสีน้ำตาลในชั้นดินลาง อาจ
                  มีแรไมกาหรือกอนปูนปะปนอยูดวย ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปน
                  กรดจัดถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0 ดินกลุมนี้ไมมีปญหาในการใช
                                                                                          
                  ประโยชน ยกเวนในชวงฤดูฝนน้ำในลำน้ำอาจเออลนฝง ทำความเสียหายใหแกพืชผลได ปจจุบันบริเวณ
                                                
                  ดังกลาวใชปลูกพืชไร ไมยืนตน และไมผลตาง ๆ แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ
                                                    
                          - หนวยที่ดินที่ 38 ไดแก Tm-alk-slA : ดินคลายชุดดินทามวงทเปนดินเนื้อปูน ทมเนื้อดนบน
                                                                                             ่
                                                                               ี
                                                                          
                                              
                                                                                                   ิ
                                                                               ่
                                                 
                                                                                               ี
                                                                                             ี
                  เปนดินรวนปนทราย สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 2,903 ไร หรือรอยละ 0.11 ของ
                  พื้นที่ศึกษา Tm-slA : ชุดดินทามวง ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบ มีเนื้อที่ 4,199 ไร หรือรอยละ 0.16 ของพื้นที่ศึกษา
                          - หนวยที่ดินที่ 38I ไดแก Tm-slAI : ชุดดินทามวง ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย
                  สภาพพื้นทราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 846 ไร หรือรอยละ 0.03 ของ
                            ี
                            ่
                  พื้นที่ศึกษา
                        (5) เปนกลุมดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนัก
                  ของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ หรือจากตะกอนลำน้ำ บริเวณพื้นที่ดอน
                  ที่มีลักษณะเปนลูกคลื่นจนถึงที่ลาดเชิงเขา เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินรวนปน
                  ทราย มีสีน้ำตาล สีเหลืองหรือแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถง ึ
                  เปนกรดจัดมาก มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5 การใชประโยชนที่ดินในปจจุบันบริเวณ
                  ดังกลาวใชปลูกพืชไร ไมยืนตน และไมผลตาง ๆ แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คอ
                                                                               ื
                                                    
                                                
                          - หนวยที่ดินที่ 40 ไดแก Kpg-slA : ชุดดินเขาพลอง ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย
                           ี่
                  สภาพพื้นทราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 136 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ศึกษา
                                           
                                       
                          - หนวยที่ดินที่ 40B ไดแก Lsk-slB : ชุดดินลานสัก ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย
                  สภาพพื้นทเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 414 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ศึกษา
                           ี่
                        (6) เปนกลุมดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกล
                  นักของวัตถุตนกำเนิดดินที่มาจากหินเนื้อละเอียด บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาด
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39