Page 31 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 31

2-17





                               
                  ตารางที่ 2-3 (ตอ)

                       กลุม        หนวยที่ดิน           ชุดดิน             เนื้อที่ (ไร)   รอยละ
                                                                                               
                                                  Ly-col-slC                     461           0.02
                                                  Ly-hb-slC                    28,501          1.07

                                                  Ly-hb-slC/d4c                  365           0.01

                                                  Ly-slC                       25,720          0.97
                                 56CI             Ly-hb-slCI                    2,193          0.08

                                 56D              Ly-slD                         546           0.02
                                 60               AC-mw,col-slA                  990           0.04

                                 62               SC                        2,231,773         84.11
                     เบ็ดเตล็ด   U                U                            16,860          0.63

                                 W                W                            46,028          1.74
                                     รวมเนื้อที่                            2,653,320        100.00

                  ที่มา : สำนักสำรวจและวิจัยทรัพยากรดิน (2564)

                      1) ดินในพื้นที่ลุม ประกอบดวยหนวยที่ดินตาง ๆ ดังนี้
                                                                                       ิ
                        (1) กลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ บนสวนต่ำของสันดนริมน้ำ พบบริเวณ
                  ที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีน้ำแชขังในชวงฤดูฝนเปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ำดปานกลางถง
                                                                                                      ึ
                                                                                             ี
                  คอนขางเลว เนื้อดินเปนดินรวน รวนเหนียวหรือ ดินรวนเหนียวปนทรายแปง มีสีน้ำตาลปนเทาหรือ
                  น้ำตาลออน พบจุดประสีเทา สีน้ำตาลปนเหลืองตลอดชั้นดินปริมาณเล็กนอย สวนใหญจะมีแรไมกา
                                                                                                ี
                                                                                                 
                                                                                      ึ
                  ปะปนอยูดวย ดินมีความสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถงเปนกลางมคาความ
                                                                                     
                  เปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0 ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญในฤดูฝนใชปลูกขาว และบางแหงยกรอง
                                      
                             
                  ปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตน แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ
                          - หนวยที่ดินที่ 21 ไดแก Pb-silA : ชุดดินเพชรบุรี ที่มเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง
                                                                          ี
                  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 700 ไร หรือรอยละ 0.03 ของพื้นทศึกษา
                                                                                       ี่
                                       
                          - หนวยที่ดินที่ 21I ไดแก Pb-silAI : ชุดดินเพชรบุรี ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง
                  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 136 ไร หรือรอยละ 0.01
                          ี่
                  ของพื้นทศึกษา
                          - หนวยที่ดินที่ 21IM2 ไดแก Pb-silAIM2 : ชุดดินเพชรบุรี ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวน

                  ปนทรายแปง สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน และมีการดัดแปลงพ้นท ี ่
                                                                                                    ื
                  โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 433 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นทศึกษา
                                                                            ี่
                          - หนวยที่ดินที่ 21M2 ไดแก Pb-silAM2 : ชุดดินเพชรบุรี ที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง
                  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลงพื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อท  ี ่

                                                 ี่
                  2,563 ไร หรือรอยละ 0.10 ของพื้นทศึกษา
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36