Page 26 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 26

2-12





                      4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ

                          จังหวัดเพชรบุรี พบวามีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 77.0 เปอรเซ็นต ปริมาณการคายระเหยน้ำ
                  เฉลี่ยตลอดป 81.0 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 92.7 มิลลิเมตร ในเดือนเมษายน ปริมาณ
                  การคายระเหยต่ำสุด 71.9 มิลลิเมตร ในเดือนตุลาคม

                                                                   ื
                      5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับปลูกพช
                                                                                                      ู
                          การวิเคราะหชวงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใชขอมล
                  ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย และคาศักยภาพการคายระเหยน้ำของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo)
                  ซึ่งคำนวณและพิจารณาจากระยะเวลาชวงที่เสนน้ำฝนอยูเหนือเสน 0.5 ETo ถือเปนชวงระยะเวลาท ี ่

                                                              ี
                                                              ่
                                    ื
                                                                                         ิ
                                                                                  ื
                  เหมาะสมในการปลูกพช จากการวิเคราะหชวงฤดูกาลทเหมาะสมจากการปลูกพชเศรษฐกจจังหวัดเพชรบุรี
                  สามารถสรุปไดดังนี้ (รูปที่ 2-7)
                          (1) ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกพืช เปนชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตอการปลูกพช
                                                                                                      ื
                  ซึ่งเปนชวงฤดูฝนปกติอยูในชวงระหวางปลายเดือนเมษายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน ซึ่งในชวงเดือน
                  พฤศจิกายนนั้น เปนชวงที่มีปริมาณน้ำฝนเพียงเล็กนอยแตเนื่องจากมีปริมาณน้ำที่สะสมไวในดิน
                  จึงมีความชื้นในดินเพียงพอสำหรับปลูกพืชอายุสั้นได แตควรมีการวางแผนจัดการระบบการเพาะปลูก
                                                     
                  ใหเหมาะสมสำหรับพื้นที่เพาะปลูกแตละแหง เนื่องจากอาจตองอาศัยน้ำจากแหลงน้ำในไรนา
                  หรือน้ำชลประทานชวยในการเพาะปลูกบาง

                          (2) ชวงระยะเวลาที่มีน้ำมากเกินพอ เปนชวงที่ดินมีความชื้นสูงและมีฝนตกชุก อยูในชวงระหวาง
                        ื
                  กลางเดอนพฤษภาคมถึงปลายเดือนตุลาคม
                          (3) ชวงระยะเวลาที่ไมเหมาะสมตอการปลูกพืชโดยอาศัยน้ำฝน เนื่องจากมีปริมาณฝน
                  และการกระจายของฝนนอย ทำใหดินมีความชื้นไมเพยงพอตอการเจริญเติบโตของพืชอยูในชวงระหวาง
                                                              ี
                                                            
                  ปลายเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือนเมษายนซึ่งในชวงเวลาดังกลาวถาพื้นที่เพาะปลูกแหงใด
                  มีการจัดการระบบชลประทานที่ดีก็สามารถปลูกพืชฤดูแลงได
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31