Page 25 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 25

2-11






                  2.5  สภาพภูมิอากาศ
                        พื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจาน สภาพโดยทั่วไปเปนปาดิบชื้น จึงทำใหม ี
                  ความชื้นสูง สวนใหญจะมีฝนตกชุก จึงมีอากาศเย็นสบายตลอดป ไมรอนอบอาว ซึ่งอยูภายใตอิทธิพลของ

                                                                     
                  มรสุมที่พัดประจำเปนฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งเปนลมจากทิศตะวันตกเฉียงใตพัดผาน
                  มหาสมุทรอินเดียจึงพาเอาไอน้ำ และความชุมชื้นมาสูประเทศไทย ลมมรสุมอีกชนิดหนึ่ง คือ มรสุม
                  ตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาว จะมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนลมเย็นและแหง
                  จากประเทศจีนพัดปกคลุมประเทศไทย เมื่อพิจารณาตามลักษณะของลมฟาอากาศของประเทศไทย

                  สามารถ แบงออกไดเปน 3 ฤดูดังนี้
                          ฤดูรอน เริ่มตั้งแตกลางเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดือนพฤษภาคม ระยะนี้เปนชวงวางของฤด ู
                  มรสุม จะมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงใตพัดปกคลุม ทำใหอากาศรอนทั่วไป อากาศจะรอนจัดที่สุดใน
                  เดือนเมษายน แตไมรอนมากนักเนื่องจากภูมิประเทศเปนคาบสมุทรอยูใกลทะเล กระแสลมและไอน้ำ

                  จากทะเลทำใหอากาศคลายความรอนลงไปมาก
                                                                                                ี
                                                           ึ
                          ฤดูฝน เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมถงกลางเดือนตุลาคม จะมีลมมรสุมตะวันตกเฉยงใตพัด
                  ปกคลุมประเทศไทย และรองความกดอากาศต่ำจะพาดผานภาคใตเปนระยะ ๆ อีกดวย จึงทำใหมีฝนตก
                  มากตลอดฤดูฝน และเดือนสิงหาคมจะมีฝนตกชุกที่สุดในรอบป

                          ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ในระยะนี้จะมีลมมรสุม
                  ตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเย็นและแหงจากประเทศจีนพัดปกคลุมประเทศไทย ทำใหอุณหภูมิลดลงทั่วไป
                                                                                                    ื้
                                                    ี่
                                                                                         
                                                                                                   ี
                                                                           ุ
                                                          ื้
                  และมีอากาศหนาวเย็น แตเนื่องจากพื้นทศึกษาพนที่ชุมน้ำนานาชาติอทยานแหงชาติแกงกระจานมพนที ่
                                           ึ่
                  สวนใหญอยูในจังหวัดเพชรบุรีซงอยูใกลทะเล อณหภูมจึงลดลงเล็กนอยเปนครังคราว อากาศจึงไมหนาวเย็น
                                                                                ้
                                                        ุ
                                                             ิ
                                                                                               
                  มากนัก และตามชายฝงมีฝนตกทั่วไป แตมีปริมาณไมมาก
                          จากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดเพชรบุรี
                  ในรอบ 29 ป (ชวงป พ.ศ. 2536 - 2565) ดังตารางที่ 2-2 ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด
                  อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ำฝน น้ำฝนใชการได จำนวนวันฝนตก ความชื้นสัมพัทธ ศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                  อธิบายไดดังนี้
                      1) อุณหภูม  ิ
                                                                                       ิ
                          จังหวัดเพชรบุรี มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 28.2 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมสูงสุดเฉลี่ยตลอดป
                  32.3 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิสูงสุดในเดือนพฤษภาคม คือ 33.9 องศาเซลเซียส และมีอุณหภูมิต่ำสุด
                                                                                ื
                  เฉลี่ยตลอดป 24.6 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคม คอ 21.7 องศาเซลเซียส
                      2) ปริมาณน้ำฝน
                          จังหวัดเพชรบุรี มีปริมาณน้ำฝนรวม 995.1 มิลลิเมตร โดยในเดือนตุลาคม ปริมาณน้ำฝน

                  มากที่สุด 279.8 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคม ปริมาณน้ำฝนนอยที่สุด คือ 10.7 มิลลิเมตร (รูปที่ 2-6)
                      3) ปริมาณน้ำฝนใชการได (Effective Rainfall : ER)
                          ปริมาณน้ำฝนใชการได คือ ปริมาณน้ำฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืชสามารถนำไปใชประโยชนได
                                                                                                      ิ
                  ภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดินอิ่มตัวดวยน้ำแลวไหลบาออกมากักเก็บในพื้นดน
                                                                                                     ี่
                                                                       ั
                  จังหวัดเพชรบุรีมีปริมาณน้ำฝนใชการได 763.3 มิลลิเมตร ในเดือนกนยายน ปริมาณน้ำฝนใชการไดมากทสุด
                  115.2 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคม ปริมาณน้ำฝนใชการไดนอยที่สุด คือ 10.5 มิลลิเมตร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30