Page 73 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 73

5-13





                        4) พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504  กฎหมายฉบับนี้ มีวัตถุประสงคหลักในการ

                  คุมครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่อยูในบริเวณเขตอุทยานแหงชาติดังนั้น พื้นที่ชุมน้ำใดๆ ท ี่
                                             ิ
                  อยูในบริเวณเขตอุทยานแหงชาตจะไดรับการคุมครองภายใตบทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้รวมทั้งชนิด
                  พันธุตางๆ ไมวาจะเปนชนิดพันธุพืชหรือชนิดพันธุสัตวก็ไดรับการคุมครองเชนกัน อยางไรก็ตาม

                  บทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้คอนขางเครงครัด ทำใหการใชประโยชนใดๆ จากพื้นที่ชุมน้ำที่อยูใน
                  บริเวณเขตอุทยานแหงชาติไมสามารถกระทำไดนอกจากการใชประโยชนเพื่อการพักผอนหยอนใจ
                  กิจกรรมนันทนาการหรือการศึกษาวิจัยเทานั้น
                        5) พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507  กฎหมายฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพือคุมครองปา
                                                                                            ่
                                                                                          
                  สงวนแหงชาติและทรัพยากรธรรมชาติภายในเขตปาสงวนแหงชาติ ดังนั้น พื้นที่ชุมน้ำใดๆ ที่อยูภายใน
                                                                                                 
                                               ุ
                  เขตปาสงวนแหงชาติจะไดรับการคมครองตามบทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้แตอยางไรกตาม กฎหมาย
                                                                                           ็
                                                                            ี่
                  ฉบับนี้ยังประสบปญหาในเรื่องของการบังคับใชเนื่องจากผูครอบครองทดินหรือใชประโยชนในบริเวณปา
                  สงวนแหงชาติกอนการประกาศเปนเขตปาสงวนแหงชาติยังคงมีสิทธิ์ในการใชประโยชนในที่ดินตอไป
                  อันสงผลใหเกิดการคุกคามพื้นที่ชุมน้ำได
                        6) พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 กฎหมายฉบับนี้สามารถนำมาใชเปน
                                               
                                                                                                  ี่
                                                                                     ื้
                  เครื่องมือในการจัดการและอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำได โดยมีบทบัญญัติในการคุมครองพนที่ชุมน้ำใดๆ ทอยูใน
                                                                                                     ั
                  บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาและเขตหามลาสัตวปา นอกจากนี้ยังมีบทบัญญัติในการคุมครองชนิดพนธุ 
                  โดยการออกกฎกระทรวงกำหนดบัญชีรายชื่อสัตวปาสงวนและสัตวปาคุมครอง รวมทั้งมีบทบัญญัติใน
                  การอนุวัติการตามอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุอก
                                                                                                      ี
                  ดวย ถือวาเปนกฎหมายโดยตรงที่มีบทบาทและความสำคัญตอการพิทักษรักษาธรรมชาติประเภท
                  สัตวปา และคุมครองสิ่งแวดลอมอันเปนที่อยูของสัตวปามิใหถูกกระทบกระเทือน ซึ่งหากพิจารณา

                  เปรียบเทียบกับกฎหมายวาดวยปาไมกฎหมายวาดวยอุทยานแหงชาติและกฎหมายวาดวยปาสงวน
                                                                                                   ิ
                                                                                               ี่
                                                                               ุ
                                                                                                 ุ
                  แหงชาติตามที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวากฎหมายเหลานี้จะมีมาตรการคมครองในภาพรวมทมงพทกษ 
                                                                                                    ั
                  รักษา“ปา” “ไม”และ“ของปา” มากกวาการบริหารจัดการดูแลพื้นที่ชุมน้ำในภาพรวม
                        7) พระราชบัญญัติประมง พ.ศ. 2490 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดประมง พ.ศ. 2558
                  กฎหมายฉบับนี้ถูกตราขึ้นเพื่อใหเกิดประโยชนกับการประกอบอาชีพประมง โดยการใหความคุมครอง
                  แหลงน้ำที่ใชประกอบอาชีพประมงซึ่งพื้นที่ “ที่จับสัตวน้ำ” นั้นและอยูในความดูแลของกรมประมง ม ี
                  การกำหนดใหพื้นที่แหลงน้ำทั้งหมดทั่วประเทศไทย ไมวาจะเปนแหลงน้ำจืด แหลงน้ำกรอยและแหลงน้ำ

                                                                                          ่
                  ทะเลเปน “ที่จับสัตวน้ำ” ซึ่งแบงเปน 4 ประเภท คือ ที่รักษาพันธุพืช ที่วาประมูล ทอนุญาต และท ่ ี
                                                                                          ี
                  สาธารณประโยชน ดังนั้น พื้นที่ชุมน้ำก็ตกอยูภายใตบทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้ซึ่งบทบัญญัติดังกลาว
                  สามารถใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการคุมครองพื้นที่ชุมน้ำ โดยการประกาศใหพื้นที่ชุมน้ำเปนท ี ่
                  รักษาพืชพันธุ ซึ่งกฎหมายจะคุมครอง โดยการหามมิใหทำการประมง หรือเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ ในเขตท ่ ี
                  รักษาพันธุพืช นอกจากนี้พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ยังมีบทบัญญัติในการรักษาคุณภาพ

                  สิ่งแวดลอมของแหลงน้ำตางๆ ซึ่งรวมถึงพื้นที่ชุมน้ำดวย กับรวมทั้งบทบัญญัติในการคุมครองชนิดพันธุ 
                  สัตวน้ำที่ใกลสูญพันธุ ซึ่งสามารถใชเปนเครื่องมอในการคุมครองชนิดพันธุสัตวน้ำใดๆ ที่ใกลสูญพันธุท่ม ี
                                                                                                      ี
                                                         ื
                                                                                                    
                  แหลงที่อยูอาศัยในบริเวณพื้นที่ชุมน้ำได
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78