Page 77 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 77

5-17





                  ตารางที่ 5-3  (ตอ)


                       มาตรการ                                หนวยงานหลักที่รับผิดชอบ   หนวยงานสนับสนุน
                       10) ใหมีการศึกษาสำรวจพื้นที่ชุมน้ำและความหลากหลาย  คณะอนุกรรมการการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ
                   ทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ำอยางตอเนื่องเพื่อปรับปรุงแกไขและ  กรมปาไม    สถาบันการศึกษา
                   เพิ่มเติมทะเบียนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและ  สำนักงานนโยบายและแผน
                   ระดับชาติตามเกณฑ                          ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                       11) ใหมีการควบคุมและปองกันมลพิษจากแหลงกำเนิด  กรมควบคุมมลพิษ
                   ประเภทตางๆ ไดแก ชุมชนอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและกิจกรรม  องคการปกครองสวนทองถิ่น   กรมโยธาธิการและผังเมือง
                              
                   อื่นๆ
                       12) ใหมีการควบคุมปองกันไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำที่มี
                   ความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติที่อาจเกิดจากชุมชน
                   หรือเกิดจากกิจกรรมอื่นๆ โดยมีมาตรการดังนี้
                          1) มาตรการปองกันไฟปา
                             (1) ใหดำเนินการควบคุมระดับน้ำของปาชุมน้ำใหคงที่
                             (2) ทำแนวกันไฟเปยก(wet-line firebreak) ตาม  กรมปาไม
                   แนวพระราชดำริ                              องคการปกครองสวนทองถิ่น
                             (3) ดำเนินการประชาสัมพันธในเชิงรุกทุกรูปแบบ  หมายเหต: พื้นที่ชุมน้ำที่อยูในเขตพื้นที่
                                                                    ุ
                   เพื่อสรางจิตสำนึกและความเขาใจใหกับชุมชนถึงอันตรายที่เกิดจาก คุมครอง รับผิดชอบโดยกรมปาไม   สำนักงานเรงรัดพัฒนาชนบท
                   ไฟปา  เปนผลใหชุมชนยุติการจุดไฟเผาปา    พื้นที่ชุมน้ำที่อยูนอกเขตพื้นที่คุมครอง  (กรมทรัพยากรน้ำ)
                          2) มาตรการดับไฟปา                  รับชอบโดยองคการปกครองสวน
                             (1) จัดตั้งสถานีควบคุมไฟปาในพื้นที่  เพื่อทำหนาที่ ทองถิ่น
                   กำกับดแล และดำเนินการควบคุมไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำที่สำคัญ
                        ู
                             (2) ฝกอบรมเจาหนาที่ปาไมใหปฏิบัติงานดับไฟปา
                   ในพื้นที่ชุมน้ำ
                             (3) ใชเครื่องมือ อุปกรณดับไฟใหทันสมัยและ
                   เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ที่เปนพื้นที่ชุมน้ำ
                       13) ใหมีการศึกษาและจัดทำแผนกายภาพ ออกแบบภูมิทัศน                องคการปกครองสวนทองถิ่น
                   บริเวณโดยรอบและในบริเวณที่ใกลเคียงพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ  กรมโยธาธิการและผังเมือง   องคกรพัฒนาเอกชน
                             ิ
                   ระดับนานาชาตและระดับชาต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อ                กรมปาไม กรมประมง
                                      ิ
                   อนุรักษและฟนฟูที่ดังกลาวทั้งระบบ                                  กรมที่ดิน กรมชลประทาน
                       5.4.4 การทบทวนมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับพื้นที่ชมน้ำ
                                                                       ุ
                             คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) เสนอ
                  การทบทวนมติคณะรัฐมนตรี และใหแกไขชื่อหนวยงานในมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำตามมต   ิ

                  คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่  3 พฤศจิกายน 2552 (เรื่อง การทบทวนมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 1 สิงหาคม
                                                    ี่
                                           ื้
                                                              ั
                                                      ี
                         ่
                  2543 เรือง ทะเบียนรายนามพนที่ชุมน้ำทมความสำคญระดับนานาชาติ และระดับชาติของประเทศไทย
                  และมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ) จากเดิม “กรมการขนสงทางน้ำและพาณิชยนาวี” เปน “กรมเจาทา”
                                                                                                     
                                    
                  ตามความเห็นของกระทรวงคมนาคม รวมทั้งให ทส. และหนวยงานที่เกี่ยวของรับความเห็นของ
                  กระทรวงคมนาคม สำนักงบประมาณ สำนักงาน ก.พ.ร. และสำนักงานทรัพยากรน้ำแหงชาติไปพิจารณา
                  ดำเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไปดวย ดังนี้ (ตารางที่ 5-4)
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82