Page 72 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 72

5-12





                  ทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟนสภาพกลับมาใหม และหยุดการสูญเสียความ

                  หลากหลายทางชีวภาพ
                        5) กฎหมายตางประเทศ  อื่นอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
                  โดยเฉพาะเปนแหลงที่อยูของนกน้ำ ค.ศ. 1971 (Convention on Wetlands of International

                  Importance as Waterfowl Habitat, 1971) ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต การบริหารจัดการของ
                  พระราชบัญญัติพื้นที่ชุมน้ำ The Freshwater Wetlands Act in 1975 ของรัฐ นิวยอรก สาธารณรัฐ
                  เกาหลี The Wetlands Conservation Act ค.ศ. 1999 เปนตน
                        5.4.2 นโยบายและกฎหมายของประเทศไทย

                        1) แผนแมบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ป (พ.ศ. 2561–2580) ดวยการดำเนินมาตรการ
                                
                  ตาง ๆ ไดแก มาตรการที่ 1 ปองกัน ควบคุม กำกับดูแลและบังคับใชกฎหมาย มาตรการที่ 2 ลดการ
                  ระบายน้ำเสียลงสูแหลงน้ำ มาตรการที่ 3 ติดตามตรวจสอบและเฝาระวังคุณภาพน้ำ มาตรการที่ 4
                  ปรับปรุงสภาพแวดลอมและระบบนิเวศของแหลงน้ำ มาตรการที่ 5 สรางการมีสวนรวม และจิตสำนึก

                                                                       ั
                  ใหกับทุกภาคสวน เชน กำกับ ตรวจสอบ และบังคับใชกฎหมายกบแหลงกำเนิดมลพษ การลดอตราการ
                                                                                                ั
                                                                                       ิ
                                                                                                  ็
                  ระบายมลพิษของนิคมอตสาหกรรม การติดตามตรวจสอบคณภาพน้ำในแมน้ำ การกำจัดวัชพืช เกบขยะ
                                                                   ุ
                                      ุ
                  และขุดลอกตะกอนดินและปรับสภาพแวดลอมในแมน้ำ การประชาสัมพันธเผยแพรองคความรูดานการ
                  จัดการคุณภาพน้ำ เปนตน
                        2) พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 “ทรัพยากรน้ำสาธารณะ” หมายความวา น้ำใน
                  แหลงน้ำที่ประชาชนใชหรือที่สงวนไวใหประชาชนใชรวมกัน หรือโดยสภาพประชาชนอาจใชประโยชน
                  รวมกัน และใหหมายความรวมถึงแมน้ำ ลำคลอง ทางน้ำ บึง แหลงน้ำใตดิน ทะเลสาบ นานน้ำภายใน
                  ทะเลอาณาเขต พื้นที่ชุมน้ำ แหลงน้ำตามธรรมชาติอื่นๆ แหลงน้ำที่รัฐจัดสรางหรือพัฒนาขึ้นเพื่อให

                                                                ี่
                  ประชาชนใชประโยชนรวมกันแหลงน้ำระหวางประเทศทอยูภายในเขตประเทศไทยซึ่งประชาชนนามาใช
                  ประโยชนได ทางน้ำชลประทานตามกฎหมายวาดวยการชลประทาน และน้ำบาดาลตามกฎหมายวาดวย
                  น้ำบาดาล ในหมวด 6 การอนุรักษและการพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะ (มาตรา 73 – มาตรา 79)
                                                    ี
                  กำหนดให กนช. พิจารณาเห็นวาพื้นที่ใดมลักษณะเปนแหลงตนน้ำลำธารหรือพื้นที่ชุมน้ำสมควรสงวนไว
                  เพื่อประโยชนในการอนุรักษทรัพยากรน้ำสาธารณะ ให กนช. มอบหมายใหรัฐมนตรีวาการกระทรวง
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพิจารณาดำเนินการใหพื้นที่นั้นเปนเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม
                  ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ และออกกฎกระทรวงกำหนด

                                           ิ
                  หลักเกณฑการใชประโยชนที่ดนเพื่อมิใหเกิดอันตรายหรือความเสียหายตอทรัพยากรน้ำสาธารณะ หรือ
                  เพื่อประโยชนในการอนุรักษหรือพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะใหเปนไปโดยเหมาะสม
                        3) พระราชบัญญัตปาไม พ.ศ. 2484 มีบทบัญญัติเอื้ออำนวยตอการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำเพื่อยับยัง ้
                                       ิ
                  การสูญเสียพื้นที่ชุมน้ำและสงเสริมใหมีพื้นที่ชุมน้ำเพิ่มมากขึ้น เพราะพื้นที่ชุมน้ำเปนแหลงที่มีระบบนิเวศ
                  หลากหลาย ไดมีการจัดตั้งเขตพื้นที่สงวนทางธรรมชาติเพื่อคุมครองพื้นที่ชุมน้ำ ตั้งแตกอนที่จะเขารวม

                  เปนภาคีอนุสัญญาแรมซารแตการกำหนดใหเปนพื้นที่สงวนทางธรรมชาติของประเทศไทยไดกำหนด
                                                                                                      ั
                  พื้นที่ดวยเหตุผลที่แตกตางกัน จึงทำใหบริหารจัดการดูแลพื้นที่ชุมน้ำไมประสบความสำเร็จดง
                  เจตนารมณของการเขารวมเปนสมาชิกตามอนุสัญญาแรมซาร
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77