Page 68 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 68

5-8





                  อางเก็บน้ำ หรือแมกระทั้งชุมชนเมือง ของเราเอง ในระบบนิเวศเหลานี้ สิ่งมีชีวิตก็ตางชนิดกัน และม ี

                                                     ี
                  สภาพการอยูอาศัยแตกตางกัน ทำใหโลกมถิ่นที่อยูอาศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ระบบนิเวศ
                  แตละประเภทใหประโยชนแกการดำรงชีวิตของมนุษยแตกตางกัน หรืออีกนัยหนึ่งให ‘บริการทาง
                  สิ่งแวดลอม’ (environmental service) ตางกันดวย อาทิ ปาไมทำหนาที่ดูดซับน้ำ ไมใหเกิดน้ำทวม

                  และการพังทลายของดิน สวนปาชายเลนทำหนาที่เก็บตะกอนไมใหไปทบถมจนบริเวณปากอาวตื้นเขน
                                                                                                      ิ
                  ตลอดจนปองกันการกัดเซาะบริเวณชายฝงจากกระแสลมและคลื่นดวย
                        แมน้ำเจาพระยาในเขตจังหวัดนนทบุรีเปนพื้นที่ตอนลางของลำน้ำซึ่งไดรับอิทธิพลจากน้ำทะเล
                  ความเคมเฉลี่ยประมาณ 5 สวนในพันสวน ทําใหมีความหลากหลายของระบบนิเวศแหลงน้ำสูงอันจะ
                         ็
                  สงผลใหความหลากชนิดของสัตวน้ำสูงดวยเชนกัน สิทธิ และสาวิกา (2554) รายงานการคนพบปลาน้ำ
                  จืดในแมน้ำเจาพระยา จังหวัดนนทบุรีถึง 124 ชนิดแตปจจุบันขอมูลของสัตวน้ำจืดในกลุมกงและปู ยังม ี
                                                                                             ุ
                  อยูนอยในดานนิเวศวิทยาและการอนุรักษสัตวน้ำเชน กุง และ ปูเ ปนตัวบงชี้ความสมดุลที่ดีของ
                  ธรรมชาติอยางหนึ่งโดยที่เราจะทราบไดจากสภาพของความหลากหลายทางชีวภาพของชนิดที่มีอยูใน

                  ปจจุบันและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในการใชประโยชนอยางยั่งยืนและยุทธวิธีดำเนินมาตรการการ
                  จัดการทรัพยากรดานสัตวน้ำจำเปนตองมีฐานขอมูลของแหลงพันธุกรรมของทั้งชนิดพื้นเมืองที่พบใน
                  ธรรมชาติและชนิดพันธุตางถิ่น มีรายงานการคนพบกุงและปูน้ำจืดในแมน้ำเจาพระยาจังหวัดนนทบุรี
                                                                                                    ี่
                                                       
                                                                                   ี
                  ทั้งหมด 16 ชนิด 7 วงศ 1 อันดับ กลุมกุงแมน้ำ (Palaemonidae) เปนกลุมที่มความหลากชนิดสูงทสุด
                  คือพบ 7 ชนิดรองลงมาเปนกลุมปูหวย (Potamidae) และกลุมกุงฝอย (Atyidae) คิดเปนรอยละ 35.3,
                  17.6 และ 11.8 ตามลำดับ กุงและปูอยางนอย 4 ชนิด (25 %) เปนสัตวน้ำในระบบนิเวศน้ำกรอยและ
                                                                                            ุ
                                                                                                 ั
                                                                                  ุ
                  ปาชายเลน และ พบวา 3 ใน 4 ชนิดเปนสัตวน้ำที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจไดแกกงกามกรามกงดีดขน และ
                  ปูแสม แตปจจุบันสภาพแวดลอมของระบบนิเวศน้ำกรอยในแมน้ำเจาพระยาจังหวัดนนทบุรีเสื่อมโทรม
                                                                                
                                                                      ื
                  ลงดวยสาเหตุหลายประการโดยเฉพาะการขยายตัวของชุมชนเมอง (สุรพงษ, 2536) สงผลใหปจจุบันสัตว
                  น้ำบางชนิดพบไดนอยมากในปจจุบัน เชน กุงดีดขัน และปูแสม อีกทั้งมีสัตวน้ำกรอยบางชนิดสูญหายไปจาก
                  พื้นที่จังหวัดนนทบุรีแลว เชน ปลาตน (Boleopthalmas sp.) (สิทธิ และสาวิกา, 2554)
                                              ี
                  5.3  การบริการทางระบบนิเวศ

                                                                                                      ั
                        บริการทางระบบนิเวศ คือ ประโยชนที่มนุษยไดรับจากระบบนิเวศเพื่อใหมีความเปนอยูที่ดีทง
                                                                                                      ้
                                                                                                   ิ
                                 
                  ทางตรงและทางออม ทังเปนประโยชนที่จับตองได (tangible) และจับตองไมได (intangible) อาท การ
                                     ้
                  ผสมเกสรของพืชโดยผึ้งและสัตวอื่นๆ มีสวนชวยในการผลิตอาหาร หรือพื้นที่ปาชายน้ำ (riparian
                  buffer) และพื้นที่ชุมน้ำ (wetlands) ที่ทำหนาที่เปนกันชนไมใหน้ำเขามาทวมในพื้นทอยูอาศัย เปนตน
                                                                                        ี่
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73