Page 71 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 71

5-11
























                  รูปที่ 5-2  ประโยชนของลำคลอง

                  5.4  มาตรการ กฎหมาย นโยบาย

                                      ุ
                        การปองกันและคมครองพื้นที่ชุมน้ำ มีนโยบายและกฏหมาย ที่ใชเปนเครื่องมือในการปองกนและ
                                                                                                  ั
                  คุมครองพื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทยหรือระดับทองถิ่น เพื่อตอบสนองตอการอนุรักษ และการใช
                  ประโยชนอยางยั่งยืน ไดแก  
                        5.4.1 นโยบายและอนุสญญาระหวางประเทศ
                                                     
                                            ั
                                                                                      
                        1) อนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention) หรืออนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
                  ระหวางประเทศ เปนขอตกลงระหวางรัฐบาล ซึ่งกำหนดกรอบการทำงานสำหรับความรวมมือระหวาง
                                                  ั
                                            ี่
                           ื่
                                                    ี่
                                                                                              
                  ประเทศเพอการอนุรักษแหลงทอยูอาศยทเปนพื้นที่ชุมน้ำ โดยมีวัตถุประสงคเพอการอนุรักษและการใช
                                                                                   ื่
                  ประโยชนพื้นที่ชุมน้ำอันเปนการอนุรักษถิ่นที่อยูอาศัยของนกน้ำ
                        2) อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ  (Convention on Biological Diversity :-
                  CBD) ความหลากหลายทางชีวภาพในที่นี้มีความครอบคลุมมากกวาความหลากหลายของชนิดพันธุ      
                  (taxonomic diversity) โดยรวมถึงความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) และความ
                  หลากหลายทางระบบนิเวศ (ecological diversity)

                        3) โครงการมนุษยและชีวมณฑล (Man and the Biosphere (MAB) Programme) ขององคการ
                                                                                                    
                  ยูเนสโก (UNESCO) ไดริเริ่มโครงการเขตสงวนชีวมณฑล มาตั้งแตป พ.ศ. 2513 โดยมีลักษณะแบบสห
                  สาขา (Interdisciplinary) เชื่อมโยงระหวางมนุษยและสิ่งแวดลอม ลักษณะการดำเนินงานเปน

                                                                                             ี่
                                                                                               ี่
                                                                                                  
                                                                                                      ั
                  โครงการวิจัยและฝกอบรม  เพื่อพัฒนาพื้นฐานของงานดานวิทยาศาสตรและสังคมศาสตรทเกยวของกบ
                  การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางถูกตอง  ทั้งเปนการอนุรักษแหลงทรัพยากรนั้นๆ และเปนการสงเสริม
                  ความสัมพันธระหวางมนุษยกับทรัพยากรธรรมชาติ นับเปนรูปแบบของการพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งตองม ี
                  พื้นที่เปรียบเสมือนเปนเครื่องมือในการดำเนินงาน เรียกวา “เขตสงวนชีวมณฑล" (Biosphere
                  Reserves )
                                                                                                    ี่
                                            ี่
                        4) เปาหมายการพฒนาทยั่งยืน (Sustainable Development Goals :-SDGs)  มีเปาหมายท 6:
                                       ั
                  สรางหลักประกันวาจะมีการจัดใหมีน้ำและสุขอนามัยสำหรับทุกคนและมีการบริหารจัดการที่ยั่งยืน ม ี
                  เปาประสงคครบคลุมประเด็นที่เกี่ยวของกับ การเขาถึงน้ำดื่มที่ปลอดภัย และเปาหมายที่ 15 ปกปอง
                  ฟนฟู และสนับสนุนการใชระบบนิเวศบนบกอยางยั่งยืน จัดการปาไมที่ยั่งยืน ตอสูการกลายสภาพเปน
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76