Page 79 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 79

5-19





                                     ิ
                                                                          ื้
                                                                            ี่
                                                                                                  ี
                                                           
                                                               ิ่
                  ในระบบสารสนเทศภูมศาสตร  พื้นที่ชุมน้ำระดับทองถนในบริเวณพนทจังหวัดนนทบุรี ป 2566 มเนื้อท  ี่
                                                                                     
                  388,939 ไรหรือ 622.303 ตารางกิโลเมตร ไดทำการตรวจสอบสถานภาพพื้นที่ชุมน้ำจากภาพถายทาง
                  อากาศรวมกับแผนที่สภาพภูมิประเทศเพื่อจัดทำฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และสำรวจ
                  ขอมูลภาคสนาม พบวาพื้นที่ชุมน้ำจังหวัดนนทบุรี ที่สามารถระบุสถานภาพและพิกัดไดมีจำนวน 226
                  แหง จำแนกไดเปน คลอง/ลำน้ำจำนวน 217 แหง แมน้ำจำนวน 3 แหง ตลาดน้ำจำนวน 2 แหง สระน้ำ
                  ใน รร.จำนวน 1 แหง สวนพฤกษชาติจำนวน 2 แหง และหนองน้ำจำนวน 1 แหง   ซึ่งจังหวัดนนทบุรี
                  เปนจังหวัดที่ตั้งอยูบนฝงแมน้ำเจาพระยา ซึ่งแบงพื้นที่ออกเปน 2 สวน คือ ฝงตะวันออกและฝงตะวันตก
                  พื้นที่สวนใหญจึงเปนที่ราบลุม มีคูคลองธรรมชาติ และที่ขุดขึ้นใหมเปนจำนวนมาก คลองมีทั้งระยะทาง

                  สั้นและระยะทางยาวเชื่อมตอกัน ใชเปนเสนทางในการสัญจรไปมา และเอื้ออำนวยตอ การเกษตรใน
                  พื้นที่ตางๆ เพื่อใหการบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำสอดคลองกันอยางเปนระบบ รัฐบบาลควรปรับปรุงมต ิ
                  คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 เรื่อง เรื่อง การทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1
                  สิงหาคม 2553 เรื่องทะเบียนรายนามพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ และระดับชาติของ

                                              
                  ประเทศไทยและมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ เนื่องจากมีหนวยงานปรับปรุงโครงสรางใหม  
                              
                      5.5.2 ขอเสนอแนะ
                             1) ขอเสนอแนะดานนโยบาย รัฐควรกำหนดใหมีการจัดทำแผนแมบทการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ
                  และแผนปฏิบัติการพื้นที่ชุมน้ำเพื่อวางแผนจัดการพื้นที่ชุมน้ำ ทั้งประเทศ

                                                                                                 ่
                             2) ขอเสนอแนะดานองคกร รัฐควรมีการปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการพื้นที ชุมน้ำ
                  การจัดตั้งองคกรจัดการพื้นที่ชุมน้ำในระดับจังหวัด โดยทำงานประสานกับคณะกรรมการ ลุมน้ำประจำ
                  จังหวัด เพื่อทำหนาที่รับนโยบายจากสวนกลาง สวนในระดับทองถิ่น การจัดตั้ง คณะอนุกรรมการจัดการ
                  พื้นที่ชุมน้ำเฉพาะพื้นที่ชุมน้ำในพื้นที่ชุมน้ำในระดับทองถน หรือ คณะกรรมการพื้นที่ชุมน้ำชุมชน เปนตน
                                                            
                                                               ิ่
                                                                                               
                                                                                                      ื
                             3) ขอเสนอแนะดานกฎหมาย รัฐควรออกกฎหมายลำดับรองหรือ ขอบัญญัติทองถิ่นเพ่อ
                  การอนุรักษและการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ำโดยอาศัยหลักการตามอนุสัญญาวา ดวยพื้นที่ชุมน้ำ
                             4) ขอเสนอแนะดานการมีสวนรวมของประชาชน รัฐควรสรางกลไกการบริหาร จัดการ
                  พื้นที่ชุมน้ำโดยอาศัยการมีสวนรวมของชุมชน ในการวางแผนจัดการและการติดตามตรวจสอบ การ

                  เปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชุมน้ำ
                             5) สนับสนุนใหภาคสวนที่เกี่ยวของดำเนินการจัดทำแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำ ที่ม ี
                                                                                               ี่
                                                                                                 ี่
                                                                                                     
                  ความสำคัญระดับนานาชาติ ระดับชาติ และ/หรือแรมซารไซต พรอมทั้งผลักดันใหหนวยงานทเกยวของ
                                                               ั
                                         
                                            
                  นำแผนไปผสานสอดแทรกเขาสูนโยบายและแผนในระดบจังหวัด ทองถิ่น และชุมชน
                             6) การอนุรักษทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ำ และการวางแผน
                  ในการ จัดการพื้นทชุมน้ำโดยการมีสวนรวมของชุมชนทองถน เขตหามลาสัตวปา เขตรักษาพนธุสัตวปา
                                                                                              ั
                                                                   ิ่
                                                                
                                  ี่
                                                                                                    ี
                  และอุทยานแหงชาติ ที่มีพื้นที่ชุมน้ำอยูในพื้นที่ รับผิดชอบ ไดจัดกิจกรรมการใหความรูแกเยาวชน มการ
                                                                                           
                  จัดคายศึกษาธรรมชาติ และหองเรียนธรรมชาติสำหรับ เยาวชน ทั้งนี้เพื่อสรางความเขาใจในบทบาท
                  และความสำคัญของพื้นที่ชุมน้ำและสรางความตระหนักในการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยให
                                        
                                                                      ่
                  ธรรมชาติมีโอกาสในการฟนฟูตัวเอง ทั้งนีเพื่อใหสามารถเก็บเกียว และใช ประโยชนไดอยางอยางยั่งยืน
                                                    ้
                  รวมถึงการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ำ
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84