Page 31 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 31

3-9





                  ปากแมน้ำกระบี่จัดเปนหาดเลนที่มีความสำคัญมากตอนกอพยพในภาคใต มีความหลากหลายทาง

                  ชีวภาพสูง พบพันธุไม 35 ชนิด หญาทะเล 9 ชนิด รวมถึงพันธุปลา 232 ชนิด
                              (5)   พื้นที่ชุมน้ำเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย

                                  ตั้งอยูอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เปนบึงน้ำจืดอยูในเขตหามลาสัตวปา
                  หนองบงคายและเปนสวนหนึ่งของลุมน้ำเชียงแสนและทะเลสาบเชียงแสน

                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,101 เมื่อ
                                                                                      
                                                                                                     ั
                  วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 2,712.5 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคญ
                  ระหวางประเทศ คือ เปนพื้นที่ที่มีความสำคัญตอนกประจำถิ่นและนกอพยพ โดยเฉพาะนกน้ำที่อยูใน
                  สภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุของโลก เชน เปดดำหัวดำ (Aythya baeri) และสถานภาพใกลสูญพันธุ  
                  ของประเทศไทย เชน นกกาน้ำใหญ (Phalacrocora carbo) นกกระสาแดง (Ardea purpurea) และ

                  เหยี่ยวดำ (Milvus migrans) บริเวณเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย พบนก 121 ชนิด เปนแหลงที่นกทำรัง
                  วางไขบริเวณนี้อยางนอย 15 ชนิด บริเวณทะเลสาบพบพืช 185 ชนิด นกทั้งหมด 225 ชนิด และพบ

                  ปลาอยางนอย 46 ชนิด
                              (6)   พื้นที่ชุมน้ำเขตรักษาพันธุสัตวปาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ

                  (พรุโตะแดง)
                                  ครอบคลุมอำเภอเมืองนราธิวาส ตากใบ สุไหงโกลกและสุไหงปาดี จังหวัด

                                               ึ่
                  นราธิวาส เปนที่ราบลุมน้ำทวมขงซงอยูหางจากชายฝงทะเล เปนแหลงรองรับน้ำจากลุมน้ำตอนบนทอด
                                             ั
                  ขนานไปกับแนวชายฝงทะเลภาคใตดานตะวันออกในระยะหางประมาณ 7 กิโลเมตร พื้นทประกอบดวย
                                                                                            ี่
                  พรุดั้งเดิม ปาพรุที่กลายสภาพเปนปาเสม็ด ไมพุมและพรุหญา มีภูมิอากาศคอนขางรอนและชื้นกวาปาชนิดอื่น
                                                                                             ี่
                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับท 1,102 เมอ
                                                                                                      ่
                                                                                                      ื
                  วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 125,625 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคญ
                                                                                                     ั
                  ระหวางประเทศ คือ เปนปาพรุดั้งเดิมผืนใหญที่สุดที่ยังคงเหลืออยูในประเทศไทยและเปนแหลงที่ม
                                                                                                       ี
                  ความหลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งพืชและสัตว พบสิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ  
                  และสถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด เชน นกตะกรุม (Leptoptilos javanieus) นกฟนฟุท
                  (Heliopais personata) นกเปลาใหญ (Teron cepeller) เตาหม (Cuora amboinensis) เตาดำ
                                                    
                  (Siebenroekiella crassicollis) ตะโขง (Tomistoma schlegelii) และจระเขน้ำ (Crocodylus porocus)
                  สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกเหยี่ยวหัวปลาใหญหัวเทา (Lchthyophaga ichthyaetus) นกโพระดก
                                                                                                      
                                                           ้
                  หลากสี (Megalaima raffesii) นกหัวขวานสามนิวหลังสีไพร (Dinopium raffesii) นอกจากนี้ยังมีกลุม
                  สังคมพืชที่ซับซอน ทั้งพืชยืนตน พืชลมลุก เฟรนตาง ๆ ขึ้นอยูอยางหนาแนน มีพันธุไมเฉพาะถิ่นอยางนอย
                  50 ชนิด พบนกอยางนอย 217 ชนิด ปลาอยางนอย 62 ชนิด สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 59 ชนิด

                  สัตวเลื้อยคลาน 52 ชนิด สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก 19 ชนิด
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36