Page 33 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 33
3-11
เฉพาะถิ่นไดแก กลวยไมนารีชองอางทอง (Paphiopedilum niveum) สิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพใกล
สูญพันธุไดแก นกเงือกดำ (Anthracoceros malayanus) สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกออก
(Haliaectus leucogaster) นกลุมพูขาว (Ducula bicolor) พบสังคมพืชที่ประกอบดวยปาดงดิบแลง
ื้
ี่
ครอบคลุมพนทของเกาะขนาดใหญ ปาชายหาดเปนปาโปรงขึ้นบริเวณแคบ ๆ ตามชายหาด และเชิงเขา
หินปูนซึ่งมีชั้นดินนอย ปาชายเลนพบอยูนอยมากบริเวณซอกหินที่มีหาดทรายหรือหาดเลน
(10) พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติอาวพังงา
เปนอาวตื้นลอมรอบดวยปาชายเลนที่ตอเปนผืนใหญในอำเภอเมืองพังงาและ
อำเภอตะกั่วทุง จังหวัดพังงา สวนที่เปนหาดเลน เนื้อที่ 25,300 ไร ระดับน้ำในอาวคอนขางตื้นประมาณ
1-4 เมตร ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ลำดับที่ 1,185 เมื่อวันที่ 14 มกราคม
พ.ศ. 2545 ประกอบดวยเกาะประมาณ 42 เกาะ เชน เกาะเขาเตา เกาะพระอาดเฒา เกาะมะพราว
เกาะปนหยี และเกาะเขาพิงกันมีความหลากหลายของระบบนิเวศทั้งชายหาด ปากแมน้ำ ปาชายเลน
หาดเลน หนาผา หาดหินและแหลงหญาทะเล เปนตัวอยางของพื้นที่ชุมน้ำตามธรรมชาติทเปนแหลงของ
ี่
ชนิดพันธุที่มีสถานภาพใกลสูญพันธุอยางยิ่ง ไดแก พะยูน (Dugong dugon) สถานภาพคุกคามของโลก
ไดแก นกหัวโตมลายู (Charadrius peronii) นกซอมทะเลอกแดง (Limnodromus semipalmatus)
สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกออก (Haliaeetus leucogastus)
(11) พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด
ุ
พื้นที่ชุมน้ำอทยานแหงชาติสามรอยยอดตั้งอยูในเขตอำเภอกุยบุรีและอำเภอ
ั
ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปนพื้นที่ชุมน้ำประเภทพื้นที่ราบลุมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีน้ำขง
ี
ี่
ั
หรือทวมถึงอยูอยางถาวร มีทั้งสวนที่เปนน้ำจืดและน้ำกรอย ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำทมความสำคญระหวาง
ี่
ประเทศลำดับที่ 1,734 เมื่อวันท 14 มกราคม พ.ศ. 2551 เนื้อที่ 43,074 ไร โดยเปนทุงน้ำจืดขนาดใหญ
มีพื้นที่ประมาณ 1,190 ไร มีระบบนิเวศที่แตกตางกัน 10 ประเภท ทั้งที่เปนระบบนิเวศแหลงน้ำ
ในแผนดินและระบบนิเวศทางทะเลและชายฝง มีความหลากหลายของชนิดนกสูงมากถึง 316 ชนิด
อยางนอย 157 ชนิด อาศัยในพื้นที่บริเวณทุงสามรอยยอด พบนกอยางนอย 116 ชนิด เปนนกประจำถน
ิ
่
และอพยพซึ่งอยูในสถานภาพถูกคุกคามของโลก ไดแก นกตะกราม นกกระทุง เปดดำหัวดำ
นกอินทรียปกลาย นกหัวโตมลายูและนกซอมทะเลอกแดง เปนตน พบนกที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุ
อยางยิ่งของประเทศ ไดแก นกเคาแดงใหญสีน้ำตาล รวมถึงพบชนิดพันธุปลาที่อยูในสถานภาพ
มีแนวโนมใกลสูญพนธุ ไดแก ปลาดุกดาน พบไมชายเลน พืชชายเลนและพืชน้ำรวมไมนอยกวา 150 ชนิด
ั
้
(12) พืนที่ชุมน้ำกุดทิง
เปนพื้นที่ชุมน้ำประเภทหนองบึง ที่ใชภาษาทองถิ่นคำวา “กุด” ซึ่งหมายถึงน้ำท่มา
ี
จากลำหวยหลายสายไหลมารวมเปนแองน้ำ ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
ลำดับที่ 1,926 เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เนื้อที่ 16,500 ไร กุดทิงอยูในเขตจังหวัดบึงกาฬ
มีสภาพเปนหนองบึงขนาดใหญ ที่มีน้ำขังตลอดป มีการเชื่อมตอกับแมน้ำในชวงฤดูน้ำหลาก กุดทิงถือเปน
พื้นที่ชุมน้ำสำคัญที่มีระบบนิเวศเชือมตอกับแมน้ำโขงทำใหมีความหลากหลายของสังคมพืชน้ำและชนิด
่