Page 27 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 27

3-5





                  รวมถึงปองกันการรุกล้ำเขามาในแผนดินของน้ำทะเล อีกทั้ง ยังเปนพื้นที่ซึ่งสามารถดักจับตะกอนและแร

                  ธาตุ บำบัดน้ำเสียและสารพิษตาง ๆ อีกดวย ซึ่งสำหรับมนุษย พื้นที่ชุมน้ำยังมีความสำคัญตอการ
                  ทองเที่ยว  ประวัติศาสตร  วัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น และยังเปนแหลงการเรียนรูการศึกษาวิจัยทาง
                  ธรรมชาติที่สำคัญตอวิถีชีวิต (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม., 2566)

                                                    ี
                      3.1.14  ความหลากหลายทางชวภาพ
                                                                                                      ั
                       ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุในระบบนิเวศอน
                  เปนแหลงที่อยูอาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกตางกันทั่วโลก หรืองายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ (species)
                  สายพันธุ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกตางหลากหลายบนโลก ที่มความหลากหลาย
                                                                                         ี
                  ทางชีวภาพมีอยูระหวางสายพันธุ ระหวางชนิดพันธุ และระหวางระบบนิเวศ
                                                     
                                           ี
                       ความหลากหลายทางชวภาพระหวางสายพนธุ คือ ความแตกตางระหวางพันธุพืชและสัตวตางๆ
                                                            ั
                                                               
                  ที่ใชในการเกษตร ความแตกตางหลากหลายระหวางสายพันธุ ทำใหสามารถเลือกบริโภคขาวจาว หรือ
                  ขาวเหนียว ตามที่ตองการได หากไมมีความหลากหลายของสายพันธุตางๆ แลว อาจจะตองรับประทาน
                                                                        
                  สมตำปูเค็มกับขาวจาวก็เปนได ความแตกตางที่มีอยูในสายพันธุตางๆ ยังชวยใหเกษตรกรสามารถเลือก
                  สายพันธุปศุสัตว และสัตวปก เพื่อใหเหมาะสมตามความตองการของตลาดได เชน ไกพันธุเนื้อ ไกพันธุ 
                  ไขดก วัวพันธุนม และวัวพันธุเนื้อ เปนตน

                       ความหลากหลายระหวางระบบนิเวศ สามารถเห็นไดจากความแตกตางระหวางระบบนิเวศ
                  ประเภทตางๆ เชน ปาดงดิบ ทุงหญา ปาชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจน
                  ระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้น เชน ทุงนา อางเก็บน้ำ หรือแมกระทั้งชุมชนเมอง ของเราเอง ในระบบนิเวศ
                                                                               ื
                  เหลานี้ สิ่งมีชีวิตก็ตางชนิดกัน และมีสภาพการอยูอาศัยแตกตางกัน ทำใหโลกมีถิ่นที่อยูอาศัยเหมาะสม
                                                                                                      ั
                  สำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ระบบนิเวศแตละประเภทใหประโยชนแกการดำรงชีวิตของมนุษยแตกตางกน
                                                                          
                  หรืออีกนัยหนึ่งให ‘บริการทางสิ่งแวดลอม’ (environmental service) ตางกันดวย อาทิ ปาไมทำ
                  หนาที่ดูดซับน้ำ ไมใหเกิดน้ำทวมและการพังทลายของดิน สวนปาชายเลนทำหนาที่เก็บตะกอนไมใหไป

                  ทบถมจนบริเวณปากอาวตื้นเขิน ตลอดจนปองกันการกัดเซาะบริเวณชายฝงจากกระแสลมและคลื่นดวย
                      3.1.15  การใชที่ดิน (Land use) หมายถึง การใชที่ดินเปนทรัพยากรขั้นพื้นฐานในการผลิต

                                                                                               ิ
                                                            ี่
                  อาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ตลอดจนใชเปนทพักผอน ที่อยูอาศัย กักเก็บน้ำ หรือใชในกจการอนๆ
                                                                                                    ื่
                                                                             ่
                  ที่มีความสำคัญตอชีวิตความเปนอยูของมวลมนุษย ทั้งนี้รวมถึงการใชทีดินในปจจุบันและการใชท่ดนใน
                                                                                                  ี
                                                                                                    ิ
                  อนาคตดวย บัณฑิต (2535) ใหความหมายไววา การใชที่ดินเปนกิจกรรมของมนุษยบนพื้นดินและสิ่งท ่ ี
                                                                                  ี่
                  เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ทั้งนี้รวมถึงสิ่งปกคลุมดินเพอที่จะสามารถจัดจำแนกพนทไดทงหมด โดยทวไปแลว
                                                                                      ั้
                                                                                                ั่
                                                                                ื้
                                                          ื่
                  ลำดับชั้นและสิ่งปกคลุมดินมีดวยกัน 3 ลักษณะคือ โครงสรางทางกายภาพทมนุษยสรางขน
                                                                                         ี
                                                                                         ่
                                                                                                      ้
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ึ
                  ปรากฏการณทางชีวภาพและการพัฒนาทุกประเภท สถิตย (2521) ไดกลาวไววา การใชที่ดิน หมายถง
                                                                                                ิ
                                                                                  ุ
                         ี
                         ่
                          ิ
                                          
                                                               
                  การนำทดนมาใชบำบัดความตองการของมนุษยในดานตางๆ เชน เกษตรกรรม อตสาหกรรม พาณชยกรรม
                                                           
                                                                                                  ี่
                  และที่อยูอาศัย เปนตน การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน หมายถึง การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนทดินวา
                  เปนไปในรูปใด เชน การทำเกษตรกรรม เหมืองแร การกอสรางอาคารที่อยูอาศัย เปนตน
                      3.1.16  การพัฒนาที่ดิน (Land development) มีความหมายวา การกระทำใดๆ ตอดินหรือ
                  ที่ดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคณภาพของดินหรือทดินหรือเพอเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขนและ
                                            ุ
                                                             ี่
                                                                                                  ึ้
                                                                     ื่
                                                  ิ
                  หมายความรวมถึงการปรับปรุงบำรุงดนหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาต หรือขาดความ
                                                                                           ิ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32