Page 25 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 25
3-3
องคประกอบ ดังนี้ทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น และทรัพยากร
ี
คุณภาพชีวิต (สังคมสิ่งแวดลอม) ซึ่งทรัพยากรเหลานี้อยูรวมกันอยางกลมกลืนเปนลุมน้ำที่มลักษณะและ
แสดงบทบาทเฉพาะ จึงมักเรียกลุมน้ำเปนทรัพยากรลุมน้ำ หรือระบบทรัพยากร ประเทศไทยมี 22
ลุมน้ำหลัก ดังนี้ (1) ลุมน้ำสาละวิน (2) ลุมน้ำโขงเหนือ (3) ลุมน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ (4) ลุมน้ำชี
(5) ลุมน้ำมูล (6) ลุมน้ำปง (7) ลุมน้ำวัง (8) ลุมน้ำยม (9) ลุมน้ำนาน (10) ลุมน้ำเจาพระยา (11) ลุมน้ำ
สะแกกรัง (12) ลุมน้ำปาสัก (13) ลุมน้ำทาจีน (14) ลุมน้ำแมกลอง (15) ลุมน้ำบางปะกง (16) ลุมน้ำ
ี
ั
โตนเลสาบ (17) ลุมน้ำชายฝงทะเลตะวันออก (18) ลุมน้ำเพชรบุรี – ประจวบครีขนธ (19) ลุมน้ำภาคใต
ฝงตะวันออกตอนบน (20) ลุมน้ำทะเลสาบสงขลา (21) ลุมน้ำภาคใตฝงตะวันออกตอนลางและ (22)
ลุมน้ำภาคใตฝงตะวันตก (ฐิติพนธ, 2564)
ั
“การจัดการลุมน้ำ” หมายถึง การจัดการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติทกๆอยาง ภายในพนท ี่
ื้
ุ
ื้
ี่
ื
ลุมน้ำแบบผสมผสาน โดยเฉพาะทรัพยาการที่ดิน ไดแก พื้นที่ปาไม เกษตรกรรม แหลงน้ำ ชุมชน พนทเมอง
ี่
ุ
ใหมีสัดสวนการกระจายตัวที่เหมาะสม มีมาตรการปองกันและควบคมผลกระทบทอาจจะเกิดจากการใช
อยางไมถูกวิธี และมีการปรับปรุงหรือฟนฟูสวนที่เสื่อมโทม ใหลุมน้ำนั้นยังคงทำหนาที่สนองตอบตอ
ความตองการทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย โดยเฉพาะ ทรัพยากรดิน น้ำ ปาไมไดอยางยืนยาว สิ่งทจะ
ี่
บงบอกถึงผลผลสัมฤทธิ์ของการจัดการดูจาก ปริมาณน้ำที่เพียงพอ ชวงเวลาการไหลสม่ำเสมอและ
คุณภาพดี รวมถึงคุณภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีของคนทอาศัยอยูในพื้นที่ลุมน้ำดวย
ี่
“การจัดการลุมน้ำอยางมีสวนรวม” หมายถึง การจัดการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติทุกๆ
อยาง ภายในพื้นที่ลุมน้ำรวมกันของผูมีสวนไดเสีย ตั้งแตรวมกันกำหนดขอบเขตพื้นที่ลุมน้ำที่ตองการ
จัดการ รวมกันคิดวิเคราะหสถานการณ รวมกันตัดสินใจกำหนดทิศทางการการจัดการ รวมกันลงมือฏิบัต ิ
่
ี
ึ
ั
รวมกับรับผิดชอบผลดีและผลเสียที่จะเกิดขึ้น และรวมกนจัดสรรผลประโยชนอยางทวถงเทาเทยม
ั
้
3.1.5 พื้นที่ชุมน้ำ (Wetlands) หมายถึง ที่ลุม ที่ราบลุม ที่ชื้นแฉะ พรุ แหลงน้ำ ทั้งที่เกิดขน
ึ
เองตามธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น ทั้งที่มีน้ำขัง หรือ น้ำทวมอยูถาวรและชั่วครั้งชั่วคราว ทั้งที่เปน
แหลงน้ำนิ่ง และน้ำไหล ทั้งที่เปนน้ำจืด น้ำกรอย และน้ำเค็ม รวมไปถึงชายฝงทะเล และที่ในทะเลใน
บริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดลงต่ำสุด มีความลึกของระดับน้ำไมเกิน 6 เมตร"
"พื้นที่ซึ่งมีลักษณะจัดไดวาเปนพื้นที่ชุมน้ำ จึงรวมถึง หวย หนอง คลอง บึง บอ กระพัง (ตระพัง)
บาราย แมน้ำ ลำธาร แคว ละหาน ชานคลอง ฝงน้ำ สบธาร สระ ทะเลสาบ แองลุม กุด ทุง กวาน มาบ
บุง ทาม สนุน แกง น้ำตก หาดหิน หาดกรวด หาดทราย หาดโคลน หาดเลน ชายทะเล ชายฝง ทะเล
พืดหินปะการัง แหลงหญาทะเล แหลงสาหรายทะเล คุง อาว ดินดอนสามเหลี่ยม ชองแคบ ชะวากทะเล
ตะกาด หนองน้ำกรอย ปาพรุ ปาเลน ปาชายเลน ปาโกงกาง ปาจาก ปาแสม รวมทั้งนาขาว นากุง
นาเกลือ บอปลา อางเก็บน้ำ เปนตน ตามอนุสัญญาแรมซาร (Ramsar Convention) หรืออนุสัญญาวา
ดวยพื้นที่ชุมน้ำ (ในมาตรา 1.1 และมาตรา 2.1 ของอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ)
พื้นที่ชุมน้ำ (Wetlands) คือ พื้นที่ซึ่งมีน้ำเปนปจจัยหลักในการกำหนดหรือควบคมสภาพแวดลอม
ุ
และลักษณะการดำรงอยูของสิ่งมีชีวิต โดยทั่วไปแลว พื้นที่ชุมน้ำเกดจากระดับน้ำใตดิน (Water Table)
ิ
ที่มีระดับอยูใกลกับผิวดินมาก สงผลใหปริมาณน้ำเออลนขึ้นมา หรืออาจถูกน้ำทวมขังเปนบริเวณกวาง