Page 24 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 24

3-2





                  การผลิตพลังงาน ทรัพยากรน้ำยังเปนทรัพยากรประเภทหนึ่งที่สามารถเกิดขึ้นทดแทนอยูตลอดเวลา

                                                                                                      ิ
                  เปนวัฎจักร ความสัมพันธของดิน น้ำ และปา เริ่มจากวัฏจักรของน้ำ ที่ระเหยจากผิวทะเลและพื้นดน
                                                                                                      ิ
                  หมุนเวียนขึ้นไปในชั้นบรรยากาศในรูปของไอน้ำ ไอน้ำจะกลั่นตัวกลายเปนฝนและไหลซึมลงไปในดน
                  สวนที่เหลือก็จะเปนน้ำไหลบนพนผิวดินไปตามลาดเขากลายเปนธารน้ำเล็กๆ รวมกนเปนแมน้ำ และไหล
                                                                                             
                                                                                      ั
                                            ื้
                  ลงสูทะเล การระเหยของน้ำจากดินและการคายน้ำของตนไมก็เปนหนึ่งในวัฏจักรของน้ำที่ทำใหเกิด
                  ความชื้นในชั้นบรรยากาศ โดยการคายน้ำของตนไมและการระเหยของน้ำจากดินจะมีความสัมพันธกน
                                                                                                      ั
                  อีกทั้งโครงสรางของดินในปาจะมีความสามารถในการดูดซึมน้ำสูง โดยการทำงานผานระบบรากของ
                  ตนไม นอกจากนี้แลวการสูญเสียน้ำจากการระเหยในพื้นที่ปาจะนอยกวาการสูญเสียน้ำจากการระเหยใน

                  พื้นที่แบบเดียวกันที่ไมมีตนไมปกคลุม ทำใหพื้นที่ที่ปกคลุมไปดวยตนไมอยางหนาแนน เชน ผืนปา ม ี
                  อิทธิพลตอความสมดุลของวัฏจักรน้ำเปนอยางมาก เพราะฉะนั้นการอนุรักษปาก็หมายถงการอนุรักษน้ำ
                                                                                
                                                                                          ึ
                                                          
                                                                    ้
                                               ั
                                                         
                                                                     ึ
                                                                     ่
                  ดวย เราจึงควรหันมาใหความสนใจกบการอนุรักษตนน้ำเหลานีซงมักจะถูกปลอยปละละเลย การกระทำของ
                                                                                           
                  มนุษยที่มีตอดินและตนไมยอมสงผลถึงวัฏจักรของน้ำไมทางใดก็ทางหนึ่งอยางหลีกเลี่ยงมิได การใชน้ำของ
                  มนุษยไมวาดวยวิธีใดก็ตาม ยอมสงผลกระทบกับการทำงานของวัฏจักรตางๆ ในธรรมชาติ ถาเราใชน้ำ
                                                                    
                  อยางไมรูคุณคา ทำใหน้ำปนเปอนดวยความตั้งใจหรือรูเทาไมถึงการณ ทั้งการทิ้งขยะลงในแหลงน้ำ หรือ
                  แมแตการใชสารเคมีในการเกษตร สารเคมีหรือเศษขยะที่เจือปนลงไปตามแหลงน้ำตางๆ ในที่สุดสิ่ง
                  เหลานั้นก็จะยอนกลับมาหาเราไมชาก็เร็ว (มูลนิธิสืบนาคะเสถียร, 2555) การพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็ก
                  เปนงานที่มีความสำคัญและมีความจำเปนตอประชาชนในชนบทเปนอยางมาก เปาหมายของการพัฒนา
                  แหลงน้ำขนาดเล็ก เพื่อสนองความตองการขั้นพืนฐานในการใชน้ำของประชาชนในชนบท เชน ใชในการ
                                                          ้
                  อุปโภคบริโภค การเลี้ยงสัตว การประมง การเพาะปลูกพืช การพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กมีกิจกรรมหลาย
                                                ็
                                                         ็
                                                                  ุ
                                            
                          
                                                                                         ื
                  ประเภทดวยกน คอการกอสรางอางเกบน้ำ สระเกบน้ำ การขดลอกหนอง บึงธรรมชาติ เพ่อกักเก็บน้ำไวใช
                                      
                                ื
                             ั
                                                                     ั
                  ในยามขาดแคลน การกอสรางทางน้ำ คู คลอง สงน้ำ รวมท้งฝาย ประตระบายน้ำขนาดเล็ก เพอนำน้ำ
                                                                               ู
                                                                                                 ่
                                                                                                 ื
                  จากแหลงน้ำกระจายไปใชในพื้นที่เพาะปลูกไดอยางทั่วถึง การขุดบอน้ำตื้น บอน้ำบาดาลเพื่อนำน้ำจากใต 
                  ดินขึ้นมาใช นอกจากนี้ยังมีการระบายน้ำออกจากพื้นที่ซึ่งมีน้ำทวมเปนประจำจนใชเพาะปลูกไมได การ
                  ปองกันน้ำทวมพื้นที่เพาะปลูก รวมทั้งการกอสรางเพื่อปองกันน้ำเค็ม และการปรับปรุงพื้นที่ชายทะเล
                  เพื่อการเพาะปลูก
                      3.1.4 ลุมน้ำ หรือ watershed  และการจัดการลุมน้ำ
                                                                                    ี
                       "ลุมน้ำ" (watershed) หมายถึง พื้นที่รองรับน้ำฝนทั้งหมดที่อยูเหนือจุดท่กำหนดให โดยน้ำฝนท ี่
                                                                            
                  ตกลงมาในพื้นที่นั้นจะพากันระบายไหลรวมไปสูจุดออก (outlet) เดียวกัน ณ จุดที่กำหนดใหนี้เทานัน
                                                                                                      ้
                  (U.S.D.A., 1957)  ซึ่งมีความหมายคลายคลึงกับคำวา "drainage basin" และคำวา "catchment area"
                  สวนใน Webster' Dictionary ไดใหคำจำกัดความของ "ลุมน้ำ" วา คือ พื้นที่ลาดชันที่ระบายน้ำจากเสน
                                                                                                    ื้
                  สันปนน้ำ (divide )ใหไหลลงไปสูทองลำธารอยางนอยสองแหงหรือมากกวานั้น ฉะนั้น ลุมน้ำ ก็คือ พนท ี่
                  ที่ลอมรอบไปดวยสันปนน้ำนั้นเอง เสนแบงเขตลุมน้ำหรือเสนสันปนน้ำนี้ แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ สัน
                  ปนน้ำผิวดินและสันปนน้ำใตดิน
                       “ลุมน้ำ” หรือ Watershed หมายถึง พื้นที่รับน้ำฝนทั้งหมดที่อยูเหนือจุดกำหนดใหออก โดยฝนท ี่

                  ตกลงมาในพื้นที่นั้นจะไหลไปรวมที่จุดออก (Outlet) เดียวกัน ณ จุดกำหนดใหนี้เทานั้น ลุมน้ำม ี
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29