Page 19 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 19

2-7





                  ฝงตะวันออกและฝงตะวันตก โดยมีถนนรัตนาธิเบศร (สะพานพระนั่งเกลา) ถนนนครอินทร (สะพาน

                  พระราม 5) ถนนชัยพฤกษ (สะพานพระราม 4 ) และถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี (สะพานนนทบุรี ๑)
                  เปนเสนทางคมนาคมที่เพิ่มความสะดวกในการเดินทางของประชาชนทั้ง ๒ ฝง จึงเปนผลทำใหการใช

                  ประโยชนที่ดินฝงตะวันตกของจังหวัดมีการเปลี่ยนแปลงจากการใชประโยชนที่ดินสวนใหญจากพื้นที ่
                  เกษตรกรรม เปนพื้นที่เพื่อการอยูอาศัย ตลอดจนกิจกรรมทางธุรกิจการคาที่ตอบสนองความตองการ

                  ของผูอยูอาศัยบริเวณพื้นที่ดังกลาว
                        2.9.2 ศักยภาพของการใชประโยชนที่ดินในจังหวัดนนทบุรี

                        1) จังหวัดนนทบุรีมีศักยภาพทางดานพื้นที่ตั้งที่อยูติดกับกรุงเทพมหานคร มีความเชื่อมโยงของ
                  การใชประโยชนที่ดินอยางตอเนื่องซึ่งสามารถกลาวไดวาพื้นที่มีความเชื่อมตอกันเปนพื้นที่เมืองเดียวกัน
                  โดยมีการใช ประโยชนที่ดินที่มีความหลากหลายในสวนของพื้นที่พาณิชยกรรมและที่อยูอาศัย รวมถง
                                                                                                      ึ
                  การมีโครงสรางพื้นฐาน ที่ตอเนื่องกัน และสงผลใหการใชประโยชนที่ดินมีการพัฒนาอยางรวดเร็ว
                  มีความเจริญขึ้นอยางมาก

                        2) พื้นที่ของจังหวัดนนทบุรีมีสภาพพื้นที่และแหลงน้ำที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเกษตรกรรม
                  ทำใหประชากรของจังหวัดนนทบุรีมีพื้นฐานอาชีพดานการเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก โดยพื้นท    ี ่

                  เกษตรกรรมสวนใหญ ในจังหวัดนนทบุรีอยูทางฝงตะวันตกของจังหวัดนนทบุรี
                        3) การใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัยของจังหวัดนนทบุรีมีศักยภาพมาก เนื่องจากอยูติดกบ
                                                                                                      ั
                  กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนแหลงงานที่สำคัญระดับประเทศรวมถึงการมีโครงสรางพื้นฐานที่คอนขางสมบูรณ  
                                         ั
                               ื
                                                          ี่
                                                                                   ี่
                  และสภาพของเมองดานภูมิทศนและสิ่งแวดลอมทดีจึงเหมาะสมตอการเปนแหลงทอยูอาศัยขั้นดี
                                                   ี
                                                   ่
                                                    ิ
                        2.9.3 แนวโนมการใชประโยชนทดนในจังหวัดนนทบุรี
                                                                               ่
                                                                               ึ
                                                                                                      ิ
                        1) จากการที่พื้นที่เมืองโดยสวนใหญอยูติดกับกรุงเทพมหานคร ซงมีผลดึงดูดใหประขากรเพ่ม
                                                                                                     ื
                                                                                                   ี่
                  ความหนาแนนขึ้น จึงทำใหพื้นที่เมืองเกิดความหนาแนน และมีการขยายตัวไปในพื้นที่โดยรอบพื้นทเมอง
                  ทางทิศตะวันตกของจังหวัดนนทบุรี ซึ่งเปนพื้นที่เกษตรกรรมและชนบทอยางรวดเร็ว แตดวยวิสัยทัศน
                  ของจังหวัดนนทบุรี เรื่องการเปนที่อยูอาศัยขั้นดี จึงมีแนวโนมที่จะเกิดชุมชนที่พักอาศัยเพิ่มขึ้นอีกมาก
                                                                                         ี่
                  ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของพื้นที่เมืองควรไดรับการวางแผนและบริหารจัดการใหเกิดในพื้นที่ทเหมาะสม
                                                                                                      ั
                        2) การใชประโยชนที่ดินดานอุตสาหกรรมในภาพรวม มีแนวโนมลดลง ซึ่งสงผลใหการขยายตว
                  ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดนนทบุรีมีแนวโนมลดลงตามไปดวย และอาจคงไวในกิจกรรมหรือประเภท
                  อุตสาหกรรม ที่ไมกอใหเกิดผลกระทบตอการอยูอาศัยในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี รวมถึงอุตสาหกรรมท ี ่
                  เกี่ยวของกับภาคการเกษตร ที่จะสามารถคงอยูไดดวยการบริหารจัดการในอนาคต แนวโนมในดาน

                  อุตสาหกรรมการบริการและการทองเที่ยว จะเพิ่มขึ้นทดแทนในสวนของภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ
                  เพื่อรองรับประชากรที่จะเพิ่มขึ้น และการทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรมที่เพิ่มมากขึ้นในจังหวัดนนทบุรี

                        3) การใชประโยชนที่ดินภาคเกษตรกรรม มีแนวโนมลดลงโดยปรับเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดน
                                                                                                      ิ
                  เปนพื้นที่อยูอาศัยมากชิ้น รวมทั้งการเปนพื้นที่รองรับการบริการดานตางๆที่เกี่ยวของกับการอยูอาศัย
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24