Page 18 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 18

2-6





                                                                                                      ิ
                                                                          ้
                  ตางกัน อาทิสีดำ เทา ครีม และน้ำตาล ดินเหนียวทีมีสีเทาหรือดํานันจะมีอินทรียวัตถุปนมาก สวนดน
                  เหนียวสีครีมหรือน้ำตาลมาจากแรเหล็กที่ปะปนอยูดินเหนียวมีสมบัติเดนในการนำมาขึ้นรูปคือ มีความ
                                                                                             ็
                                                                       ี
                  เหนียว และเมื่อแหงมีความแข็งแรงสงูทำใหผลิตภัณฑหลังแหงมความแข็งแรง แตอยางไรกตามเมอแหง
                                                                                                  ื่
                                                                      
                                                                       ี
                  ดินเหนียวมักมีการหดตัวสูง ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหผลิตภัณฑมการแตกราว ดังนั้นจึงไมนิยมใชเนื้อดิน
                  เหนียวลวนๆ ในการขึ้นรูปผลิตภัณฑแตตองมีการผสมวัสดุที่ไมมีความเหนียว อาทิดินเชื้อ หรือทราย
                  เพื่อลดการดึงตัวและหดตัว ซึ่งจะชวยลดปญหาการแตกราว เนื่องจากการหดตัวของดินไดดินเหนียว
                                                                                                      ้
                  หลายชนิดมีชวงอุณหภูมิที่จะเปลี่ยนไปเปนเนื้อแกวกวาง ซึ่งจะเปนประโยชนคือ ชวยปรับปรุงเนือ
                                                                          ี่
                                                                       ื้
                  ผลิตภัณฑหลังการเผาใหดีขึ้น การใชประโยชนจากดินเหนียวในพนทของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะใช
                  ดินเหนียวในการทําอิฐเปนสวนใหญ นอกจากนั้นก็จะเปนการปนในแบบหัตถกรรมพื้นบาน อาทิหมอ ไห
                  กระถาง เปนตน ดังนั้นดินเหนียวจึงเปนวัตถุดิบที่มีความสำคัญอยางยิ่ง


                  2.8  ทรัพยากรดิน

                        จังหวัดนนทบุรีมีการจำแนกการใชที่ดินแตกตางกันออกไป จากการศกษาการใชสภาพที่ดิน ตาม
                                                                                ึ
                  คุณสมบัติของที่ดินแลวพบวา ทรัพยากรดินของจังหวัดนนทบุรี เปนดินที่ราบลุม ซึ่งมความอุดมสมบูรณ 
                                                                                       ี
                  เหมาะกับการเกษตรกรรม โดยเฉพาะการปลูกขาวและทำสวนผลไม ซึ่งสามารถจำแนกลักษณะดินออก
                  ได ๓ กลุมใหญๆ ดังนี้

                        (1) กลุมดินนา เปนพื้นที่ลุมมน้ำทวมขังบนผิวดิน สวนมากมีลักษณะดินเปนดินเหนียวจึงมีการ
                                               ี
                  ระบายน้ำเหลว ดินกลุมนี้มีประมาณ รอยละ 58 ของพื้นที่จังหวัด

                        (2) กลุมดินไร มีลักษณะโครงสรางเปนดินเหนียวเชนเดียวกับกลุมดินนา แตมีความลาดชันของ
                  พื้นที่มากกวา ดินกลุมนี้มีประมาณ รอยละ 33 ของพื้นที่จังหวัด
                        (3) กลุมดินที่มีสภาพเปนกรด มีลักษณะเปนดินเหนียวเชนกัน การระบายน้ำเหลวและน้ำผิวดิน

                  ระบายไดชา ความอุดมสมบูรณของแรธาตุต่ำ ดินกลุมนี้มีประมาณ รอยละ 13 ของพื้นทจังหวัด
                                                                                          ี่
                        ทรัพยากรทีดินจังหวัดนนทบุรี สวนใหญเปนดินทีมีความอุดมสมบูรณเหมาะแกการเกษตรกรรม

                  ปญหาที่สำคัญ คือ การใชประโยชนที่ดินไมเหมาะสม เนื่องจากมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอัตราสูง
                                                                      ้
                       ้
                                                                                                    ี
                  รวมทงมการขยายตวของแหลงทอยูอาศย จึงทำใหมการสูญเสียพนททางการเกษตรกรรรม เนืองจากมการ
                                                                                             ่
                                                                         ่
                                                                         ี
                                                                      ื
                         ี
                                               
                                            ่
                                  ั
                                            ี
                                                            ี
                       ั
                                                  ั
                                                                                             ิ
                                                                                               ี
                                                                                               ่
                                                               
                                                                         
                  นำพื้นที่ดังกลาว ทำบานจัดสรร อาคารชุด และโรงงานตางๆ เพราะไดผลตอบแทนทางเศรษฐกจทสูงกวา
                  2.9  การใชประโยชนที่ดิน
                        2.9.1 ลักษณะการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดนนทบุรี
                        การใชประโยชนที่ดินของจังหวัดนนทบุรีมีการขยายตัวของเมืองในรูปแบบการกระจาย ตาม
                  เสนทางคมนาคมสายหลักที่เชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานคร การพัฒนาของพื้นที่ฝงตะวันออกของจังหวัด
                  นนทบุรี มีการพัฒนารูปแบบความเปนเมืองที่เขมขน เนื่องมาจากการพัฒนาตอเนื่องจาก
                  กรุงเทพมหานคร ตามแนวถนนงามวงศวานและถนนแจงวัฒนะ โดยมีพื้นที่พาณิชยกรรม เกาะตัวตาม
                  ถนนทั้ง 2 เสน และจากการที่มีแมน้ำเจาพระยาตัดผานพื้นที่โดยแบงพื้นที่จังหวัดเปน 2 ฝง คือ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23