Page 13 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 13

บทที 2
                                                              ่

                                                      ขอมูลพื้นฐาน
                                     
                  2.1  ประวัติความเปนมา
                                               ั
                      2.1.1 ตราสัญลักษณ คำขวญ












                                            รูปที่ 2-1  ตราสัญลักษณจังหวัดนนทบุรี


                                                      ุ
                              ตราสัญลักษณจังหวัดนนทบรี รูปหมอน้ำลายวิจิตร หมายถึงชาวจังหวัดนนทบุรีมีอาชีพ
                  ทำเครื่องปนดินเผา ซึ่งยึดถือเปนอาชีพ และมีชื่อเสียงมาชานาน
                              คำขวัญจังหวัดนนทบุรี "พระตำหนักสงางาม ลือนามสวนสมเด็จ เกาะเกร็ดแหลงดินเผา
                  วัดเกานามระบือ เลื่องลือทุเรียนนนท งามนายลศูนยราชการ"

                                    
                                              ื
                      2.1.2 ความเปนมาของเมองนนทบุรี
                          นนทบุรี กอตั้งมากวา 400 ป เดิมเปนหมูบานที่มีผูคนอาศัยอยูหนาแนน รูจักกันในชื่อ
                  “บานตลาดขวัญ” ซึ่งเปนดนแดนที่มีความอุดมสมบูรณ เนื่องจากอยูริมฝงแมน้ำเจาพระยาและเปน
                                         ิ
                  สวนผลไมที่ขึ้นชื่อของกรุงศรีอยุธยา
                                                                                        ้
                          พ.ศ. 2092 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยายกบานตลาดขวัญขึนเปนเมืองนนทบุรี
                                            ั
                                            ้
                                          ้
                                     
                                       ิ
                                                 ่
                  โดยตวเมองนนทบุรีแตเดมนันตงอยูทตำบลบางกระสอในปจจุบัน โดยมีวัดหัวเมือง(ปจจุบันเปนวัดราง
                                                 ี
                          ื
                       ั
                  ที่ทางราชการไดใชเปนสถานที่ตั้งโรงพยาบาลพระนั่งเกลา) เปนเขตเหนือ และมีวัดทายเมืองเปนเขตใต
                          พ.ศ. 2179 พระเจาปราสาททองทรงโปรดเกลาฯ ใหขุดคลองลัดตอนใตวัดทายเมือง
                  ไปทะลุออกหนาวัดเขมา ทั้งนี้ เพราะเดิมทีนั้นแมน้ำเจาพระยาไหลวกวนโดยเขาแมน้ำออมไหลมาทาง
                  บางใหญแลววกเขาคลองบางกรวยขางซอยวัดชะลอมาออกหนาวัดเขมา ดังนั้นเมื่อขุดคลองลัดแลว
                                                                                                     
                  กระแสน้ำจึงเปลี่ยนทางเดินไหลเขาคลองลัดที่ขุดใหม นานเขาก็กลายเปนแมน้ำเจาพระยาใหมใน
                                                 ้
                  ปจจุบัน สวนแมน้ำเจาพระยาเดิมก็ตืนเขินกลายเปนคลองไปในที่สุด และเมื่อคราวสมเดจพระนารายณ 
                                                                                           ็
                  มหาราชขึ้นครองราชย พ.ศ. 2208 พระองคทรงเห็นวาเมื่อแมน้ำเจาพระยาเปลี่ยนทางเดินทำใหขาศก
                                                                                                      ึ
                  เขาประชิดพระนครไดงายขึ้น จึงโปรดเกลาฯ ใหสรางปอมปราการตรงปากแมน้ำออม และใหยายเมือง
                                                                                                  
                  นนทบุรีมาอยูปากแมน้ำออมในคราวเดียวกัน เมืองนนทบุรีจึงตั้งอยูบริเวณปากแมน้ำออมตั้งแตนั้นมา
                  จนกระทงถงยุคสมัยของกรุงรัตนโกสินทร ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ไดทรงโปรดฯ
                         ั่
                           ึ
                  ใหรื้อปอมและเมืองบางสวนเพื่อนำอัฐ (เงิน)ไปสรางวัดเฉลิมพระเกียรติ และบางสวนก็ถูกกระแสน้ำพด
                                                                                                      ั
                  เซาะพังทลายลงน้ำไป ปจจุบันจึงเหลือแตศาลหลักเมืองเทานั้น
                        นนทบุรีไดรับการประกาศจัดตั้งเปนจังหวัด เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2489
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18