Page 15 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี
P. 15

2-3





                  2.3  การคมนาคม


                        2.3.1 การขนสงทางบก
                        เนื่องจากสภาพทางภูมิศาสตรของจังหวัดนนทบุรี มีอาณาเขตติดตอกับกรุงเทพมหานครถึง 2
                  ดานคือ ดานทิศตะวันออกและทิศใต รวมทั้งเปนจังหวัดในเขตปริมณฑล ระบบโครงขายการคมนาคม

                                                                                                      
                  ขนสงทางบกของนนทบุรี คอนขางสมบูรณทั้งระบบทางหลวงแผนดินจังหวัดและชนบทที่ไดติดตอ
                  ภายในจังหวัดและเชื่อมโยงเขากับกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกลเคียง ทำใหการเดินทางสู

                  กรุงเทพมหานครและจังหวัดใกลเคียงเปนไปโดยสะดวก มีโครงขายคมนาคมขนสงทางบก ติดตอภายใน
                  จังหวัด และมีเสนทางเชื่อมตอถึงทกตำบล เสนทางคมนาคมขนสงถนนของจังหวัดนนทบุรี ประกอบดวย
                                              ุ
                  ทางหลวงแผนดิน ซึ่งเชื่อมโยงระหวางภูมิภาคและจังหวัด ทางหลวงจังหวัดซึ่งเชื่อมโยงจังหวัดกบอำเภอ
                                                                                                ั
                                  
                  สวนทางหลวงที่อยูนอกเขตชุมชน เรียกวา ทางหลวงชนบท และเชื่อมโยงระหวางอำเภอไปยังตำบล
                  และหมบาน
                        ู
                        นอกจากเสนทางคมนาคมขนสงทางถนนที่กลาวแลวขางตน ยังมีทางพิเศษซึ่งอยูในความ
                  รับผิดชอบของการทางพิเศษแหงประเทศไทย ซึ่งประกอบดวยระบบทางดวน เพื่อชวยใหการจราจรใน

                  ใจกลางกรุงเทพมหานคร สามารถกระจายสูบริเวณรอบนอกและจากรอบนอกเขาสูใจกลางเมืองทาง
                  ดวนที่ผานจังหวัดนนทบุรี ประกอบดวย

                         - ทางดวนขั้นที่ 2 สายบางโคล-แจงวัฒนะ ขณะนี้ไดเปดใหบริการแลว
                        - ทางดวนขั้นที่ 3 สายนนทบุรี-บางกะป การทางพิเศษแหงประเทศไทยไดเปดโอกาสใหเอกชนท ี ่
                  สนใจลงทุน เปนผูศึกษาความเหมาะสมและประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ตลอดจนออกแบบและลงทน
                                                                                                      ุ
                  กอสราง เพื่อแบงเบาภาระการลงทุนจากรัฐบาล

                        - ทางดวนขั้นที่ 4 เปนการวางแผนในระยะยาวโดยจะครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯและ
                  ปริมณฑลกับจังหวัดใกลเคียง ไดแก จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม
                  สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา อางทอง สระบุรี

                  นครราชสีมา นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง
                  โดยถนนสายหลักที่อยูในความรับผิดชอบของแขวงการทางและสำนักงานทางหลวงชนบาท 13 สาย คือ
                                                                                               
                                                                     ่
                          -  ถนนพิบูลสงคราม ระหวางเชิงสะพานพระรามหก - สีแยกโรงภาพยนตรศรีพรสวรรค
                          -  ถนนประชาราษฎรสาย 1 ระหวางศาลากลางจังหวัด – สี่แยกโรงภาพยนตรศรีพรสวรรค
                                                                                                 
                          -  ถนนติวานนท ระหวางสามแยกวัดลานนาบุญ – ทาน้ำปทุมธานี
                          -  ถนนงามวงศวาน ระหวางสี่แยกแคลาย – สี่แยกเกษตร
                          -  ถนนนนทบุรี1 ระหวางศาลากลาง – ถนนติวานนท

                          -  ถนนแจงวัฒนะ ระหวางสี่แยกปากเกร็ด – สี่แยกหลักสี่
                          -  ถนนบางกรวย – ไทรนอย ระหวางพระรามหก – อำเภอไทรนอย
                          -  ถนนบางบัวทอง – ตลิ่งชัน ระหวางแยกบางบัวทอง – ตลิ่งชัน
                          -  ถนนบางบัวทอง – สุพรรณบุรี ระหวางแยกบางบัวทอง – สุพรรณบุรี
                          -  ถนนกรุงเทพฯ–นนทบุรี ระหวางสามแยกเตาปูน– สามแยกวัดลานนาบุญ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20