Page 209 - Mae Klong Basin
P. 209

5-38






                  ตัดขวางทางน้ำธรรมชาติ เชน ถนนวงแหวนรอบเมืองหากมีการวางแผนไมดี อาจเกิดน้ำทวมไดงาย

                  สามารถแกไดที่ตัวตนเหตุ ซึ่งก็คือมนุษย ดังนี้
                                -  ไมทิ้งเศษขยะมูลฝอย สิ่งสกปรกโสโครก ลงไปในแมน้ำลำคลอง
                                -  ควรมีมาตรการหามไมใหโรงงานอุตสาหกรรมทิ้งน้ำเสียลงในแมน้ำ

                                -  ประชาชนทุกชุมชน องคกรภาครัฐและเอกชน ควรชวยกันรักษาตนน้ำลำธาร
                            2) การนำน้ำกลับมาใชใหม ซึ่งควรมีการแยกทอน้ำฝน น้ำเสีย และทอน้ำนำกลับมาใชใหม
                  ซึ่งเปนหนึ่งในวิธีการใชน้ำอยางประหยัดและคุมคา นอกเหนือจากการนำน้ำฝน “Rain Water” มาใช
                  เพียงรองน้ำฝนจากรางน้ำที่หลังคาใหไหลผานทอมายังถังเก็บน้ำ ผานการกรองเพื่อคัดแยกสิ่งปนเปอน

                  เอาสารแขวนลอยออก และลดปริมาณแบคทีเรียในน้ำ แลวจึงนำมาผานการบำบัดดวยแสง
                  อัลตราไวโอเลต ก็จะไดน้ำที่สะอาดพอสำหรับนำมาซักผา รดน้ำตนไม หรือลางรถได และมีน้ำใชแลว
                  “Grey Water” ซึ่งเปนน้ำจากอางลางมือ น้ำจากการอาบน้ำ (ไมรวมน้ำโสโครก “Black Water”
                  โดยนำมากรองและฆาเชื้อเพื่อใหมั่นใจวาน้ำสะอาดพอและจะไมมีเชื้อโรคเจือปน เริ่มจากการกรอง

                  เพื่อแยกเอาอนุภาคหรือสารอาหารของแบคทีเรียที่ปนเปอนออกกอนเขาสูถังเก็บ จากนั้น ฆาเชื้อซึ่งวิธีที่นิยม
                  ใชคือการใชสารฆาเชื้อชนิดที่มีคลอรีนหรือโบรมีนเปนสวนประกอบ แตน้ำที่ผานการบำบัด
                  แลวอาจเปลี่ยนสีและอาจมีคุณสมบัติกัดกรอนเนื่องจากการตกคางของสารเคมีจากการบำบัด
                  จึงตองมีการทดสอบความใสของน้ำ แบคทีเรียในน้ำ และระดับคลอรีน สามารถนำน้ำนี้มาใชอุปโภค เชน

                  รดตนไม น้ำลางรถ หรือน้ำสำหรับชักโครกสุขภัณฑ
                            3) การบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเปนน้ำเสียที่
                  มีสิ่งสกปรกและสารปนเปอนในปริมาณที่มากกวาน้ำเสียจากแหลงชุมชน ทั้งนี้ สิ่งสกปรก และ
                  สารปนเปอนดังกลาวจะแตกตางกันไปตามประเภทธุรกิจของโรงงานอุตสาหกรรมนั้น ๆ ซึ่งการบำบัด

                  ดวยกรรมวิธีทางชีวภาพเพียงอยางเดียวไมเพียงพอ เนื่องจากสารเคมีและสารละลายไมสามารถกำจัด
                  ใหหมดไปดวยกรรมวิธีดังกลาวได ดังนั้น ระบบการบำบัดน้ำเสียสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมจึงตองอาศัย
                  วิธีการทางเคมีที่มีความยุงยากและซับซอนมากยิ่งขึ้น โดยจำเปนตองอาศัยกรรมวิธีการบำบัด
                  ทางกายภาพและการกำจัดตะกอน

                            4) การประกาศใชพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 ในราชกิจจานุเบกษา
                  เลมที่ 135 ตอน 112ก เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม  2561รัฐควรมีนโยบาย ชวยเหลือเกษตรกร
                  คือในเขตชลประทานและ เขตเกษตรยังชีพ เกษตรกรที่มีพื้นที่ถือครองมากวาหรือเทากับ 10 ไร

                  รัฐควรสนับสนุนบอน้ำในไรนาของกรมพัฒนาที่ดิน ทุกครัวเรือนเพื่อลดความเสี่ยงในการขาดแคลนน้ำ
                  และฝนทิ้งชวง เปนพื้นที่รับน้ำทวม/แกมลิงได และควรชดเชยคาเสียหายจากบริหารภาครัฐใหเหมะสม
                            5) การพัฒนาแหลงน้ำใตดิน หรือบอบาดาล (Well) หมายถึง รูหรือบอที่เจาะหรือขุดลงไปใตดิน
                  เพื่อนำน้ำบาดาลขึ้นมาใชประโยชนในบางโอกาศบอน้ำอาจใชประโยชนในลักษณะอื่น เชน
                  เปนบอสำรวจบอสังเกตการณ บออัดน้ำลงใตดิน บอน้ำบาดาลอาจมีความลึกไมมากเพียง 10 - 20 เมตร

                  หรือลึกเปนหลายรอยเมตร หลังจากที่มีการเจาะบอแลว บอนั้นจะตองไดรับการปรับปรุงพัฒนาและทดสอบ
                  เพื่อใหเปนบอบาดาลที่มีคุณภาพและมีอายุการใชงานที่ยาวนาน บอบาดาลมีแรงดัน (Artesian well)
                  เปนบอบาดาลที่เจาะลงในั้นหินอุมน้ำมีแรงดัน ระดับน้ำในบอจะมีระดับสูงกวาระดับน้ำของบอบาดาล

                  ที่เจาะลงในชั้นหินอุมน้ำไรแรงดัน ในบางพื้นที่อาจพบเปนบอน้ำพุ (จีรเดช, 2548) ดังนั้น การขุดเจาะ





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214