Page 212 - Mae Klong Basin
P. 212

5-41






                        5.3.5 พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่อุตสาหกรรม ปญหาภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วในชวง

                  ศตวรรษที่ผานมา ทำใหหลายประเทศใหความสำคัญตอการลดผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งกวา 90
                  เปอรเซ็นตมาจากกาซเรือนกระจก จากการใชพลังงานถานหินและฟอสซิล รวมทั้งการทำลายปาไม
                  ซึ่งเปนแหลงสรางสมดุลตามธรรมชาติที่สำคัญที่สุด ควรพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม ดังนี้

                            1) การสงเสริมและพัฒนาสถานประกอบการสูอุตสาหกรรมสีเขียว สืบเนื่องจากที่ประเทศไทย
                  มีสัตยาบรรณที่ไปรวมกับนานาประเทศ ไมวาจะเปนเรื่องของปฏิญญาโจฮันเนสเบิรก ปฏิญญามนิลา
                  ตอเนื่องกันมาจนประมาณป 2532-2553 เปนชวงที่ทาง UNIDO (องคการพัฒนาอุตสาหกรรมแหง
                  สหประชาชาติ) ก็ไดมีการประดิษฐ คำที่เรียกวา Green Industry ขึ้นมา Green Industry ในภาพของ

                  UNIDO เปนภาพที่ออกในเชิงของการกำหนดนโยบาย ของแตละประเทศ เพื่อใหแตละประเทศนั้น ๆ
                  มุงไปสูประเทศที่เรียกวาสังคมคารบอนต่ำ (Low Carbon Society) โดยการใชทรัพยากรธรรมชาติ
                  อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นทั้งในดานประสิทธิภาพในการผลิต และการบริโภการเพิ่มประสิทธิภาพ
                  ดานสิ่งแวดลอมของการผลิตและการบริโภค ผานการจัดการของเสีย น้ำเสีย หรือ

                  การลดกาซคารบอนไดออกไซดการลดผลกระทบทางสุขภาพ อาทิการบริหารจัดการการใชสารเคมี
                  ในการผลิต การขนสง และการบริโภค
                            2) การสรางอุตสาหกรรมสีเขียวใหม (Creating the new Green Industry) การสงเสริม
                  และสรางเทคโนโลยีสีเขียว เชนแผงวงจรแสงอาทิตย กังหันพลังงานลม โรงแยกและกำจัดขยะ

                  การสงเสริมและสรางการผลิตเพื่อตอบสนองตอตลาดภายในและการคาระหวางประเทศ การสงเสริม
                  และสรางอุตสาหกรรมสีเขียวใหมรวมไปถึงการผลิตสินคา และบริการที่เกี่ยวของกับภาคอุตสาหกรรมสีเขียว
                  อาทิ การใหคำปรึกษาดานการประหยัดหลังงานของภาคอุตสาหกรรม ฐานขอมูลสารเคมี ฯลฯ
                  การพัฒนาไปสูอุตสาหกรรมสีเขียวนั้นตองอาศัยความมุงมั่นและตั้งใจอยางแทจริง ผูประกอบการตองมี

                  ความรูความเขาใจและทัศนคติที่ดี

                  5.4  ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแบบจำลอง
                        1) แบบจำลองทำงานบนฐานขอมูล GeoDatabase ของ ArcGIS ซึ่งไมสมารถทำงานไดที่มีขอมูล
                  ขนาดใหญหรือจำนวน Record มากกวา 1,000,000 Record หรือมีขนาดการเก็บขอมูล มากกวา 2TB

                  การพัฒนา GeoDatabase ควรใชซอฟตแวรประยุกต (application software) เชิงพานิชย
                        2) ฐานขอมูล GeoDatabase ควรทำ Normalization เชนฐานขอมูลกลุมชุดดิน เพื่อทำให
                  เอนทิตี้ และแอตทริบิวตที่ไดออกแบบไว ถูกจัดกลุมเปนตารางที่มีความสัมพันธ (Relationship)
                  จุดประสงคของการ Normalization คือ ลดความซ้ำซอนของขอมูลในตาราง เพื่อจะไดไมตองไขขอมูล
                  ในหลาย ๆ ที่ ทำใหการเปลี่ยนแปลงแกไขโครงสรางของตารางในภายหลังทำใหงาย
                  ทำใหการเปลี่ยนแปลงโครงสรางฐานขอมูลมีผลกระทบตอแอพพลิเคชั่นที่เขาถึงขอมูลในฐานขอมูล
                  นอยที่สุดในการ Normalization ใหไดผลดีที่สุด เราตองนำทั้งทฤษฎี และจุดประสงคในการทำงาน
                  มาใชรวมกัน เชน กลุมดินนาจะใชประเมินความเหมาะสม สำหรับการปลูกขาว เพียง 1 รายการไมได

                  แตในระบบอาจจะทำไดก็ได เมื่อมีเงื่อนไขอื่น ๆ เปนตน ดังนั้น การออกแบบจึงควรยึดถือหลักความจริง
                  ควบคูกับการใชทฤษฎีดวย
                        3) ขอมูลและโปรแกรมเปนอิสระตอกัน (Independence) ถาหากโปรแกรมประยุกตตาง ๆ
                  ตองใชแฟมขอมูลโดยตรงแลว แตละโปรแกรมจะมีรายละเอียดของแฟมขอมูลนั้น ๆ






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมกลอง
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217